ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประชาชน

เกร็ดประวัติศาสตร์
20
กรกฎาคม
2567
การเมืองของประเทศจะสามารถดำเนินไปได้อย่างมีเสถียรภาพตามครรลองระบอบประชาธิปไตย จำเป็นต้องประกอบไปด้วยฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาลที่สามารถทำหน้าที่ถ่วงดุลซึ่งกันและกันได้อย่างเป็นระบบตามความต้องการของราษฎรในประเทศ
บทบาท-ผลงาน
31
มีนาคม
2567
ปาฐกถา นี้รายงานถึงผลงานของรัฐบาลในช่วง 2 ปีหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ทั้งด้านกฎหมาย ความมั่นคง เศรษฐกิจ สิทธิเสรีภาพ และการศึกษา พร้อมเรียกร้องให้ประชาชนช่วยกันรักษารัฐธรรมนูญ เพื่อนำพาประเทศไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2567
สำหรับระบอบการปกครองประเทศที่มีอำนาจสูงสุดเป็นของประชาชนพลเมืองทุกคนนั่นคือ “ประชาธิปไตย” ผ่านหลักการแยกอำนาจการปกครองในการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน และความเป็นประชาธิปไตยเป็นสิ่งสำคัญที่พลเมืองของประเทศควรปกป้องไว้
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤศจิกายน
2565
หน้าที่ประการแรกและเป็นประการสำคัญที่สุดของรัฐธรรมนูญ คือการเป็น “บทบัญญัติแห่งการจัดตั้งรัฐ” ดังนั้น ในมาตราแรกๆ ของรัฐธรรมนูญ มักจะกำหนดรูปแบบของรัฐ และกล่าวอ้างถึงที่มาแห่ง “อำนาจสูงสุด” ของประเทศนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
18
กันยายน
2564
แนวคิดและปณิธาน “รัฐบาลกับราษฎรเป็นคู่มือร่วมกัน” ช่างน่าครุ่นคิด โดยเฉพาะความตอนหนึ่งคือ “...รัฐบาลกับราษฎรไม่ใช่คู่อริหรือคู่แข่งขันกัน แต่เป็นคู่ร่วมคิดร่วมมือกันปฏิบัติงานของชาติ...” อีกทั้งยังควรโยงใยมาเตือนสติรัฐบาลหรือผู้คนแห่งยุคสมัยปัจจุบันให้ตระหนักว่า ไม่ควรทำตนเป็นศัตรูกับประชาชน!
10
ตุลาคม
2563
กระเป๋าผ้าที่ระลึกวาระครบรอบ 44 ปี 6 ตุลาฯ ขนาด: 13x14x3 นิ้ว สี: ดำ/กรมท่า มูลค่า 250 บาท จัดส่งฟรีทั่วประเทศ (ลงทะเบียน)
แนวคิด-ปรัชญา
16
กันยายน
2563
อ่านข้อเขียนของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณภา ติระสังขะ ที่เรียบเรียงจากการปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ ประจำปี 2559 หัวข้อ "สังคมที่เป็นประชาธิปไตย: คุณค่า ความหวัง"
แนวคิด-ปรัชญา
19
กรกฎาคม
2563
“สังคมก็จะดํารงอยู่ได้ก็ด้วยมวลราษฎร ดังนั้นเอง ระบบสังคมที่จะทําให้มวลราษฎรมีพลังผลักดันให้สังคมก้าวหน้า ก็คือ ระบบประชาธิปไตย… คือ หมายถึงระบบที่ประชาชนหรือมวลราษฎรมีอธิปไตย...” -- ปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
2
กรกฎาคม
2563
ความจําเป็นที่จะให้ประชาชนส่วนใหญ่เข้ามามีส่วนในทางการเมืองเป็นเรื่องที่ตระหนักดี โดยผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกซึ่งประกาศใช้เมื่อปี 2475 บุคคลผู้นั้น ก็คือ อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส
Subscribe to ประชาชน