ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
28
พฤศจิกายน
2567
การปฏิรูประบบสวัสดิการแรงงาน และระบบประกันสังคมการสวัสดิการถ้วนหน้าเป็นส่วนสำคัญที่จะนำไปสู่การระบบสวัสดิการถ้วนหน้าให้สังคมไทย และยังส่งเสริมให้เกิดประชาธิปไตยในมิติเศรษฐกิจบนพื้นฐานของสิทธิมนุษยชนคือ แรงงาน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2567
แล ดิลกวิทยรัตน์ กล่าวถึงอุดมการณ์ของคณะราษฎรในการเปลี่ยนแปลงการปกครองว่าอยู่ภายใต้หลักประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย และเสนอแนวคิดประชาธิปไตยสมบูรณ์ของปรีดี พนมยงค์ไว้ว่าต้องประกอบด้วย 3 แนวทาง คือประชาธิปไตยทางการเมือง ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ และประชาธิปไตยทางสังคม
บทความ • บทบาท-ผลงาน
23
มิถุนายน
2567
ปาฐกถาของนายปรีดี พนมยงค์ ในการชุมนุมสนทนาที่สามัคคีสมาคม (สมาคมนักเรียนไทย) ประเทศอังกฤษ เมื่อวันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม 2516 โดยมีการกล่าวถึงประชาธิปไตยทางการเมือง การเศรษฐกิจ และเปรียบเทียบในบริบทโลก
บทความ • บทบาท-ผลงาน
17
เมษายน
2567
ข้อเสนอด้านเศรษฐกิจและสวัสดิการของปรีดี พนมยงค์ ยังมีความทันสมัย แม้บางประเด็น เช่น การผูกขาดทางเศรษฐกิจ การแยกส่วนนโยบาย และระบบภาษี ยังไม่ได้รับการแก้ไข จึงจำเป็นต้องผลักดันต่อไป
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
15
มีนาคม
2566
สำรวจความคิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ต่อภูมิทัศน์ทางการเมืองและระบอบประชาธิปไตย อันเป็นทรรศนะที่พิสูจน์แล้วว่าไม่เคยเก่าไปจากสังคมไทย หากเป็นแนวทางที่ยังคงร่วมสมัยควบคู่ไปกับทุกๆ ย่างก้าวของพลวัตที่เคลื่อนไปข้างหน้า เพื่อทบทวนบทเรียนแก่การเมืองในระยะเปลี่ยนผ่านที่กำลังจะมาถึง
บทความ • บทสัมภาษณ์
13
ตุลาคม
2564
ทำไมพวกเขาต้องถูกกระทำความรุนแรงขนาดนั้น ทั้งที่แค่ไปยืนคล้องแขนเพื่อที่จะทำกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ แค่นั้นเอง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2564
เมื่อคณะราษฎรเข้ามาบริหารประเทศก็ได้กำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจสำคัญตามหลัก 6 ประการ ที่ได้ประกาศไว้ ทำให้เศรษฐกิจเปลี่ยนเป็นอุตสาหกรรมมากขึ้น ก็เกิดชนชั้นกลางในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งในส่วนนี้ก็คือเศรษฐกิจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
กันยายน
2563
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณภา ติระสังขะ ได้ประมวลแนวคิดประชาธิปไตยสมบูรณ์ของนายปรีดีไว้แล้ว ในบทความนี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2563
ความคิดทางเศรษฐกิจของท่านปรีดีนั้นมีลักษณะล้ำสมัยเมื่อเปรียบเทียบกับบรรดาผู้คนในยุคของท่าน
ความคิดของท่านหลายประการจึงได้รับปฏิบัติในภายหลัง และความคิดบางประการ ได้รับการต่อต้านในการนําเสนอในช่วงแรก
สิ่งที่สะท้อนความคิดทางเศรษฐกิจของรัฐบุรุษอาวุโสได้อย่างเป็นระบบมากที่สุด คือ เค้าโครงเศรษฐกิจ หรือที่เรารู้จักกันดีในนาม สมุดปกเหลืองของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม นั่นเอง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ
15
มิถุนายน
2563
ปรีดี พนมยงค์ ทำการอภิวัฒน์สยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ด้วยความปรารถนาจะให้ประเทศสยามในขณะนั้นได้มีประชาธิปไตยสมบูรณ์ คือประกอบไปด้วยประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ ประชาธิปไตยการเมือง และทัศนะทางสังคมที่เป็นประชาธิปไตย