ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประชาธิปไตย

บทสัมภาษณ์
16
กรกฎาคม
2563
ที่ผ่านมา อจ.ปรีดีท่านได้พยายามทำเพื่อชาติบ้านเมืองตลอดเวลา แต่ก็ยังถูกกลั่นแกล้งใส่ร้าย ไม่ทราบว่าพี่เคยเห็น อจ.ท้อใจหรือเคยบ่นให้ลูก ๆ ฟังบ้างหรือไม่ อันนี้รู้สึกจะเป็นคุณธรรมข้อหนึ่งที่ท่านมีอยู่ คือท่านไม่เคยแสดงความท้อใจและไม่เคยบ่นเลย จนกระทั่งหลายต่อหลายคนเคยพูดเหมือนกันว่า ถ้าเขาโดนสภาพเช่นเดียวกับท่านอาจารย์ก็คงไม่สามารถมีชีวิตอยู่ต่อไปได้ แต่คณพ่อพี่ถึงแม้จะถูกกลั่นแกล้งใส่ร้ายยังไง ท่านก็ยังมีเจตนาบริสุทธิ์ที่จะทำอะไรเพื่อความเจริญของบ้านเมือง จนกระทั่งไปอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศสแล้ว ท่านก็ยังพยายามเขียนข้อเสนอความคิดเห็นต่าง ๆ ในบั้นปลายชีวิต แม้เรื่องกรณีสวรรคตก็ไม่เคยบ่น
บทสัมภาษณ์
15
กรกฎาคม
2563
อ่านทัศนะของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถระ) หรือที่รู้จักกันในสมณศักดิ์ที่ พระพิมลธรรม เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์
บทบาท-ผลงาน
8
กรกฎาคม
2563
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ตั้งข้อสังเกตถึงสาระสำคัญบางประการใน 'เค้าโครงการเศรษฐกิจ' ของปรีดี พนมยงค์ คือ เรื่องการกระจายอำนาจเพื่อเป็นฐานในทางเศรษฐกิจไปยังพื้นที่ชนบท และการสร้างระบบเศรษฐกิจความมั่นคงของชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เขียนบทความสั้น ๆ เล่าถึง 'คุณปู่' พระยาไชยวิชิตสิทธิสาตรา (นาค) ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ได้ลงชื่อในคำกราบบังคมทูล ร.ศ. 103
2
กรกฎาคม
2563
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ และมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จัดงาน “88 ปี 2475 ความทรงจำของสามัญชน” โดย นายอนุสรณ์ ธรรมใจ ประธานกรรมการบริหาร สถาบันปรีดี พนมยงค์ กล่าวเปิดงานเสวนาในหัวข้อ จากราชดำเนินถึง “2475: ความรู้ ความทรงจำและสถานการณ์ปัจจุบัน” ผ่านเพจสถาบันปรีดี พนมยงค์ และ ศูนย์วิจัยดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2
กรกฎาคม
2563
88 ปีนับจาก พ.ศ. 2475 จนถึง 2563 สามัญชนอยู่ตรงไหนในประชาธิปไตยไทย? คำถามข้างต้นหาคำตอบได้จากหลายแง่มุม ตั้งแต่กฎหมายสูงสุดของประเทศซึ่งแสดงที่ทางของผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครอง วิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่สะท้อนแนวคิดการอยู่ร่วมกัน ไปจนถึงสิ่งปลูกสร้าง
2
กรกฎาคม
2563
จากวันที่  24 มิถุนายน 2475 ถึง 24 มิถุนายน 2563 นับเนื่องเป็นเวลากว่า 88 ปีของการอภิวัฒน์สยาม เหตุการณ์ปฏิวัติของคณะราษฎรที่ทำให้ประเทศไทยเปลี่ยนผ่านจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
บทบาท-ผลงาน
2
กรกฎาคม
2563
ความจําเป็นที่จะให้ประชาชนส่วนใหญ่เข้ามามีส่วนในทางการเมืองเป็นเรื่องที่ตระหนักดี โดยผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกซึ่งประกาศใช้เมื่อปี 2475 บุคคลผู้นั้น ก็คือ อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2563
เค้าโครงเศรษฐกิจฉบับแรกนี้ ปรีดี พนมยงค์เขียนขึ้นภายในระยะเวลาที่จำกัด และมุ่งหมายที่จะให้เค้าโครงการเศรษฐกิจนี้เป็นเพียงหลักการใหญ่เท่านั้น ในรายละเอียดการดำเนินการแต่ละเรื่องนั้นจะต้องมีการไปคิดและกำหนดวิธีการดำเนินการอีกทีหนึ่งภายใต้หลักการนี้
ชีวิต-ครอบครัว
28
มิถุนายน
2563
       ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ จักคงคู่ยุคอยู่ทุกสมัย คู่นามปรีดีปรีติชัย ปิ่นประชาธิปไตยไผทนิรันดร์      คือมือประคับป้องประคองมือ ถือธงนำทางร่วมสร้างสรรค์ ร่วมชีพร่วมประชาร่วมประชัน ศักดิ์สามัญแห่งมหาประชาชน      ร่วมทุกข์ร่วมสุขร่วมเสียสละ สมถะ สันโดษ สำแดงหน คัลลองแห่งผู้ตัด อัตตาตน เป็นเยี่ยงอย่างให้ยลอยู่ทุกยาม      โอวาทสุดท้ายที่ธรรมศาสตร์ ดังประกาศ ฝากไว้ในสยาม “นักศึกษาธรรมศาสตร์ ทุกทุกนาม จงมีความสำนึกอยู่เป็นนิตย์
Subscribe to ประชาธิปไตย