ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประภาส จารุเสถียร

เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ตุลาคม
2566
กวินพร เจริญศรี นำเรื่องราว ปาฐกถา บทเพลง และบทสนทนาที่เกิดขึ้นภายในงาน “เจ้าฝันถึงโลกสีใด” 14 ตุลา จิตวิญญาณประชาธิปไตย เนื่องในวาระ 50 ปี 14 ตุลา โดยเรียบเรียงออกมาสู่ผู้อ่านอีกครั้งในรูปแบบบทความถึงบรรยากาศ ประเด็น และเนื้อหาสำคัญที่สมควรเน้นย้ำในฐานะของการรำลึก “50 ปี 14 ตุลา”
แนวคิด-ปรัชญา
5
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้นำเสนอถึงความคิดและทัศนะของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่ยังคงต่อการศึกษาในทางวิทยาศาสตร์และในทางสงคราม และการรับรู้ของรัฐบาลไทยและการจัดการในด้านพลังงานนิวเคลียร์
แนวคิด-ปรัชญา
11
เมษายน
2566
พัฒนาการและการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่งรัฐสวัสดิการในสังคมไทยที่ดำเนินมาตลอดเกือบหนึ่งศตวรรษ โดยชี้ให้เห็นถึงการขับเคลื่อนที่มีหลายแนวทาง บ้างก็สันติวิธี บางครั้งก็ต้องเผชิญหน้าท้าทายตั้งคำถามต่อผู้มีอำนาจ
แนวคิด-ปรัชญา
30
มีนาคม
2566
อ่านฐานคิดว่าด้วยแบ่งเขตในสนามการเลือกตั้งของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านจดหมายถึง 'นายสุกิจ นิมมานเหมินท์' พื่อชวนพิจารณาข้อดีและข้อด้อยผ่านการวิเคราะห์เชิงสถิติอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อให้การลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งสะท้อนตามเจตนารมณ์ตามจริงของราษฎรไทย โดยมีกฎกติกาและหลักการที่เป็นธรรมในขั้นตอนการแบ่งเขตการเลือกตั้ง
บทบาท-ผลงาน
24
สิงหาคม
2565
ฐานคิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ว่าด้วยการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ คือ "ความเป็นกลาง" อันเป็นฐานคิดซึ่งอยู่ภายใต้กรอบหลักการสำคัญ คือ "แนวคิดสันติภาพ" โดยทัศนะดังกล่าวแสดงออกผ่านบทสัมภาษณ์ซึ่งเป็นการสนทนาระหว่างนายปรีดีกับสำนักข่าวไทยและต่างประเทศ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2565
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อเข้าใจประวัติศาสตร์แห่งการอภิวัฒน์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
บทสัมภาษณ์
25
กุมภาพันธ์
2565
บทสัมภาษณ์สุด exclusive กับ ‘คุณภักดี ธนะปุระ’ อดีตกรรมการและผู้อำนวยการฝ่ายงานระหว่างประเทศ สมาคมคลองไทย กับการพูดคุยถึงความเป็นมาเรื่องคอคอดกระ แนวความคิดท่านปรีดีในอดีต และอัปเดตความเป็นไปในปัจจุบันถึงโครงการนี้ว่ามีความเป็นอย่างไรบ้าง
แนวคิด-ปรัชญา
1
กุมภาพันธ์
2565
เมื่อรัฐบาลส่วนใหญ่ได้เข้ามาดำรงตำแหน่งบริหารประเทศ สิ่งหนึ่งที่รัฐบาลหลีกเลี่ยงไม่ได้เลยคือ การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไขราคาสินค้าแพงเนื่องจากปัญหาสินค้าขาดแคลน ซึ่งในอดีตประเทศไทยก็เคยประสบปัญหากับราคาหมูแพงในช่วงที่รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2564
การเมืองไทย ตกอยู่ใน ‘วงจรอุบาทว์’ การรัฐประหาร - การร่างรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นประชาธิปไตย - การจัดการเลือกตั้ง - เกิดการทุจริตคอร์รัปชัน - เกิดวิกฤติทางการเมืองอีกครั้ง - และกลับมาจบที่การรัฐประหาร อีกครั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
พฤศจิกายน
2564
ในที่สุด กลุ่มนายทหารนอกประจำการนำโดย ผิน ชุณหะวัณ กาจ กาจสงคราม เผ่า ศรียานนท์ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ถนอม กิตติขจร ประภาส จารุเสถียร ก็ทำรัฐประหารเป็นผลสำเร็จ ยกเลิกรัฐธรรมนูญ 2489 ที่มความเป็นประชาธิปไตยอย่างมาก และประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม
Subscribe to ประภาส จารุเสถียร