ประมวลรัษฎากร
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
เมษายน
2565
บทความชิ้นนี้มีหมุดหมายเพื่อนำเสนอพัฒนาการแนวคิดความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และการปรับปรุงระบบภาษีอากรเพื่อราษฎรของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม[1] ก่อนการร่างพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรพุทธศักราช 2481 ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์สำคัญได้แก่ นิติสาส์น ฉบับปฐมฤกษ์ บันทึกการประชุมคณะกรรมการราษฎร และเค้าโครงการเศรษฐกิจ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
7
เมษายน
2565
ตั้งแต่เริ่มระบอบประชาธิปไตยมา แม้ในสภาผู้แทนราษฎรจะได้มีการร่ำร้องให้รัฐบาลลดหย่อนภาษีอากร และรัฐบาลได้ลดหย่อนลงจนถึงที่อยู่แล้วก็ตาม ภาษีอากรทั้งหมดที่เก็บอยู่นั้น เมื่อพิจารณาโดยทั่วๆ ไปแล้ว ยังเห็นว่า ยังไม่เป็นธรรมแก่ราษฎรอยู่ ราษฎรเป็นแต่เพียงรู้สึกหายใจคล่องและพ้นจากการผูกมัดรัดแน่น
ในด้านรัฐบาล รายได้จากการภาษีอากรทั้งหมด ก็ไม่พอแก่การที่จะบำรุงสร้างความเจริญก้าวหน้าให้ประเทศชาติ และในส่วนรวม ภาษีอากรเหล่านั้น ไม่เป็นคุณต่อการผลิตและการจำแนกทรัพย์ในระหว่างชั้นของราษฎร และยังมีภาษีอากรที่คนจนหรือคนมั่งมีต้องเสียเท่ากันอยู่ เช่น รัชชูปการ เป็นอาทิ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
21
พฤษภาคม
2564
10 ผลงานชิ้นสำคัญของท่านรัฐบุรุษอาวุโสนั้น คืออะไร และมีความเป็นมาอย่างไรบ้าง อ่านเรื่องราวทั้งหมดได้ในบทความนี้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
10
ตุลาคม
2563
ประมวลรัษฎากร อันเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดเก็บภาษีของประเทศไทย นับเป็นอีกหนึ่งผลงานที่สำคัญของคณะราษฎร ที่ยังคงได้รับการสืบทอดมาจนถึงทุกวันนี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2563
ในบทความนี้ สุโข สุวรรณศิริ นำเสนอวิสัยทัศน์ 6 ด้านของนายปรีดี พนมยงค์ คือ ในการสร้างประชาธิปไตย ในทางเศรษฐกิจ ในด้านการศึกษา ในด้านธรรมะ ในเรื่องการคุ้มครองสิทธิของพลเมืองพลเมือง และในด้านการต่างประเทศและสันติภาพ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2563
ความคิดทางเศรษฐกิจของท่านปรีดีนั้นมีลักษณะล้ำสมัยเมื่อเปรียบเทียบกับบรรดาผู้คนในยุคของท่าน
ความคิดของท่านหลายประการจึงได้รับปฏิบัติในภายหลัง และความคิดบางประการ ได้รับการต่อต้านในการนําเสนอในช่วงแรก
สิ่งที่สะท้อนความคิดทางเศรษฐกิจของรัฐบุรุษอาวุโสได้อย่างเป็นระบบมากที่สุด คือ เค้าโครงเศรษฐกิจ หรือที่เรารู้จักกันดีในนาม สมุดปกเหลืองของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม นั่นเอง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to ประมวลรัษฎากร
30
พฤษภาคม
2563
ข้าพเจ้ารู้จักนายพลตำรวจตรี พัฒน์ นีลวัฒนานนท์ เมื่อครั้งยังเป็นนายร้อยตำรวจตรี เริ่มสมัครเป็นนักเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรมที่ข้าพเจ้าได้เป็นผู้สอนหลายวิชา คือ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหุ้นส่วนและบริษัท, กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล และกฎหมายปกครอง