ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปิยบุตร แสงกนกกุล

แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ต้องการนำเสนอถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญฉบับที่เป็นตัวกฎหมายกับฉบับวัฒนธรรม และการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ผ่านมโนทัศน์ ‘รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม’
แนวคิด-ปรัชญา
31
มกราคม
2566
กล้า สมุทวณิช กล่าวถึง พลวัตของสิทธิเสรีภาพในรัฐธรรมนูญไทย ซึ่งปรากฏการกำหนดสภาพบังคับในเชิงป้องกันการละเมิดจากอำนาจรัฐ และสิทธิเรียกร้องต่อรัฐให้บังคับตามสิทธิ อันเป็นคุณค่าพื้นฐานของพลเมืองดังบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับ 2540 และ 2550 ทว่า สิทธิเสรีภาพของประชาชนที่ถูกรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญไว้โดยชัดแจ้ง กลับมีจุดหักเหเมื่อรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ได้ถือกำเนิดขึ้น ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อ "มุมมอง" ตลอดจน "การตีความ"
แนวคิด-ปรัชญา
26
มกราคม
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของหลักการสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนคำอธิบายและนิยามของหลักการดังกล่าวซึ่งเชื่อมร้อยต่อกันในทางกฎหมาย นอกจากนี้ยังได้บอกเล่าถึงจุดเริ่มต้นของสิทธิเสรีภาพในภูมิทัศน์การเมืองไทย ซึ่งปรากฏการตีความบทบัญญัติในกระบวนการยุติธรรมอันนำไปสู่การไร้สภาพบังคับทางกฎหมาย โดยยกกรณีศึกษาผ่านคำวินิจฉัยของคำพิพากษาในคดีต่างๆ
แนวคิด-ปรัชญา
22
ธันวาคม
2565
ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ กล่าวถึงเส้นทางการเคลื่อนไหวในการร่างรัฐธรรมนูญอันเกิดจากการผลักดันของภาคประชาชนและพรรคการเมืองต่างๆ ซึ่งได้เริ่มต้นนับตั้งแต่ปี 2563 จนถึงกระทั่งปัจจุบัน โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 นอกจากนี้ ยังได้ชี้ให้เห็นถึงจุดขวางกั้นที่ทำให้ทั้งพรรคการเมืองและภาคประชาชนต้องพบกับอุปสรรคใหญ่ในหนทางการแก้ไขรัฐธรรมนูญ อันเกิดจากเงื่อนไขบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ที่กำหนดไว้
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
เนื่องในวาระ 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยามของคณะราษฎร แทบจะไม่มีการเล่าถึงในวันที่ปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎร ถวายธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 แด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2564
หลังการประกาศเลิกทาสในดินแดนอาณานิคมฝรั่งเศสทั้งหมด เดือนกุมภาพันธ์ปีเดียวกัน มีถ้อยคำระบุว่า “มนุษย์เกิดมาเท่าเทียมกัน การเกิดไม่ได้ทำให้คุณค่าของมนุษย์แตกต่างกัน” ซึ่งเป็นหนึ่งในหลักการของคำประกาศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและพลเมือง 1789
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กันยายน
2564
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของฝรั่งเศสเผชิญหน้ากับวิกฤตครั้งสำคัญในรัชสมัยของหลุยส์ที่ 16 ก่อนจะปิดฉากลงด้วยการปฏิวัติฝรั่งเศสในช่วงฤดูร้อนปี 1789
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มิถุนายน
2564
ในปัจจุบันเมื่อพูดถึงรัฐธรรมนูญ คนส่วนใหญ่คงรู้และเข้าใจได้ว่า “รัฐธรรมนูญ” หมายถึง ชื่อของกฎหมายที่กำหนดระเบียบแห่งอำนาจสูงสุดในรัฐและความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจเหล่านี้ต่อกันและกัน
แนวคิด-ปรัชญา
17
มิถุนายน
2564
เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้วว่า วันที่ 24 มิถุนายน 2475 เป็นวันที่คณะราษฎรได้ทำการอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครอง จากระบอบที่กษัตริย์อยู่เหนือกฎหมาย มาเป็นระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
Subscribe to ปิยบุตร แสงกนกกุล