ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พรรคประชาธิปัตย์

แนวคิด-ปรัชญา
1
กุมภาพันธ์
2567
พรรคการเมืองฝ่ายค้าน เป็นสิ่งที่มีประโยชน์อย่างมาก และขาดไม่ได้ เพราะการเมืองของบ้านเราในยุคนี้เต็มไปด้วยความเลอะเทอะ ความไม่สงบของบ้านเมือง ซึ่งจะทำให้การปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยนั้นเป็นไปด้วยความไม่ราบรื่น
แนวคิด-ปรัชญา
7
กันยายน
2566
ข้อสังเกต 3 ประการถึงเหตุผลว่าเป็นเช่นไรที่การมองด้วยทฤษฎีภาวะทันสมัยหรือ “สองนคราธิปไตย” อาจต้องกลับมาศึกษาใหม่อีกครั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2566
นายพึ่ง ศรีจันทร์ อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรสมัย พ.ศ. 2490 นับเป็นบุคคลในแบบอย่างของการวางตัวให้สมาชิกทุกพรรคเคารพยำเกรงในการทำหน้าที่
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2566
ผลการเลือกเมื่อ 14 พ.ค. 2566 แสดงถึงเจตจำนงและฉันทามติของสังคมไทยอย่างเด่นชัดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ทว่า กลับต้องพบกับอุปสรรคทางการเมืองที่ถูกวางไว้ผ่านรัฐธรรมนูญ 2560 ในบทเฉพาะกาล โดยกำหนดให้ สว. จำนวน 250 คน มีสิทธิร่วมเลือกนายกรัฐมนตรีผ่านกลไกการประชุมรัฐสภา
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
เมษายน
2566
ความเพลี่ยงพล้ำของฝรั่งเศสใน WWII เปิดลู่ทางให้รัฐบาลจอมพล ป. เรียกร้องต่อกรณี ร.ศ. 112 เมื่อสงครามจบลงชาวเวียดนามอพยพหนีการกว้างล้างของฝรั่งเศสเข้ามายังไทย รัฐบาลประชาธิปไตยภายใต้การนำของนายปรีดี พนมยงค์ จึงดำเนินนโยบายสนับสนุนขบวนกู้เอกราช แต่ก็ต้องหยุดชะงักลงด้วยการรัฐประหาร 2490
แนวคิด-ปรัชญา
24
เมษายน
2566
เงื่อนไขที่เป็นไปได้ของการปฏิรูปกองทัพในส่วนของการเกณฑ์ทหาร คือ การระดมกำลังพลด้วยระบบอาสาสมัคร ผ่านการถอดบทเรียนจากประวัติศาสตร์การเมืองโลก ซึ่งนำไปสู่การปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกณฑ์ทหารที่สอดคล้องต่อยุคสมัย
แนวคิด-ปรัชญา
7
เมษายน
2566
ก่อนการเลือกตั้งทั่วไปจะมาถึงในวันที่ 14 พฤษภาคมนี้ บทความนี้ชวนผู้อ่านสำรวจรูปแบบและวิธีการเลือกตั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย นับตั้งแต่แรกเริ่มสถาปนาระบอบประชาธิปไตย เรื่อยมาจนถึงการเลือกครั้งล่าสุดในปี 2562
แนวคิด-ปรัชญา
1
กุมภาพันธ์
2566
สุพจน์ ด่านตระกูล วิเคราะห์ผ่านบทความของกุหลาบ สายประดิษฐ์ หรืออีกนามปากกาหนึ่งคือ อิสรชน โดยวิพากษ์อคติและคำกล่าวหาของฝ่ายปฏิกิริยา อันบิดเบือนไปจากความมุ่งมาดที่แท้จริงของนายปรีดี พนมยงค์ ในการรื้อฟื้นแผนขุดคอคอดกระ อันเป็นความรุดหน้าไปนั้นดำเนินไปก็เพื่อผลประโยชน์ของชาติ
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2565
“วงจรอุบาทว์ทางการเมืองไทย” นั้น เป็นที่รู้กันว่าหมายถึงวงจรแห่งการรัฐประหารฉีกรัฐธรรมนูญเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้นมารอคณะรัฐประหารคณะต่อไปมาฉีกทิ้ง 
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤศจิกายน
2565
ความจริงเรื่องรัฐประหารล้มรัฐบาลนี้ เกิดเป็นรูปเป็นร่างหลังจากพรรคประชาธิปัตย์เปิดอภิปรายทั่วไป ไม่ไว้วางใจรัฐบาลธำรงนาวาสวัสดิ์มาตั้งแต่ปลายพฤษภาคม 2490
Subscribe to พรรคประชาธิปัตย์