ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยาศรีสิทธิสงคราม

บทสัมภาษณ์
15
ตุลาคม
2566
การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและมรดกคณะราษฎรชิ้นอื่นๆ นั้น สะท้อนถึงนัยทางการเมืองของการรื้อถอนอดีต ความทรงจำชุดหนึ่งไม่เป็นที่ต้องการของภาครัฐหรือไม่ก็ไม่เป็นที่ต้องการของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
บทบาท-ผลงาน
15
ตุลาคม
2565
15 ตุลาคม พ.ศ. 2479 เป็นวันที่ทางราชการในสมัยรัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนา ได้สร้างอนุสาวรีย์ 17 ทหาร-ตำรวจขึ้น ณ ตำบลหลักสี่ อำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร เพื่ออุทิศแด่ผู้ที่เสียชีวิตจากการเข้าร่วมปราบปรามกบฏบวรเดช ระหว่างวันที่ 11-24 ตุลาคม พ.ศ. 2476
บทบาท-ผลงาน
11
ตุลาคม
2565
"กบฏบวรเดช" เหตุการณ์สำคัญในระยะเปลี่ยนผ่านของการเมืองไทย วิเคราะห์ผ่านการขับเคี่ยวของชุดประวัติศาสตร์ นำไปสู่การตีความที่แตกต่างกัน โดยมีตัวแปรสำคัญคือ อุดมการณ์ทางการเมืองของผู้ถ่ายทอดซึ่งเป็นประจักษ์พยานในเหตุการณ์และนักวิชาการในเวลาต่อมา อีกทั้งนำเสนอเอกสารทางประวัติศาสตร์ คือ เอกสาร "การตรวจสอบโทรเลข" อันปรากฏบทบาทของ 'นายปรีดี พนมยงค์'
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2565
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อมีบุคคลปริศนาเข้าเปลี่ยนป้าย “สะพานพิบูลสงคราม” บริเวณใกล้ๆ แยกเกียกกาย เป็นชื่อสะพาน “ดิ่น ท่าราบ”
บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2565
  วันนี้เมื่อ 5 ปีที่แล้ว (14 เมษายน 2560)  มีข่าวแพร่สะพัดว่า หมุด ‘ก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญ’ หรือเรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ‘หมุดคณะราษฎร’ ได้หายไปจากจุดที่มันเคยอยู่ (จากการติดตามของสำนักข่าวประชาไทระบุมีความเป็นไปได้ที่หมุดจะหายไปในช่วงเวลาระหว่างวันที่ 3-7 เมษายน 2560) เป็นปริศนาจวบจนถึงวันนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
พฤศจิกายน
2564
จดหมายของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึง นายปรีดี พนมยงค์, ใน, คำให้การต่อศาลอาชญากรสงคราม เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2564
อาจก่อความแปลกใจให้แก่คุณผู้อ่านไม่น้อยทีเดียวว่า “พระยาพหลพลพยุหเสนา” (พจน์ พหลโยธิน) ผู้นำคณะราษฎรสายทหารที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
Subscribe to พระยาศรีสิทธิสงคราม