ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พิธา ลิ้มเจริญรัตน์

แนวคิด-ปรัชญา
2
สิงหาคม
2566
นับตั้งแต่รัฐประหารเมื่อ 2557 หรือเกือบทศวรรษที่ผ่านมานี้ชี้ให้เห็นว่ายิ่งผู้มีอำนาจหรือรัฐบาลพยายามกดปราบข้อเรียกร้องของประชาชนมากเท่าใด แนวโน้มข้อเรียกร้องเหล่านั้นก็จะมีความแหลมคมมากขึ้นเท่านั้น
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2566
ประเทศไทยยังคงวนเวียนกับวงจรและกับดักของเผด็จการจากรัฐประหาร แต่การเลือกตั้งก็ยังคงเป็นกิจกรรมสำคัญของประชาชนที่ขาดไม่ได้ตลอดมา ในฐานะเจ้าของสิทธิอันชอบธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย สิ่งสำคัญหนึ่งในการปกป้องระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยเอาไว้ให้ได้ ก็คือ การรักษาความชอบธรรมทางการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
21
กรกฎาคม
2566
การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในประเด็นสมาชิกภาพของสภาผู้แทนราษฎรของนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์นี้ จะเป็นสิ่งที่พิสูจน์ให้สังคมได้ประจักษ์ว่า ศาลรัฐธรรมนูญแท้จริงแล้วคือองค์กรที่ถูกสร้างเพื่อพิทักษ์ประชาธิปไตยหรือแท้จริงแล้วเป็นเพียงองค์กรที่จะนำสังคมไปสู่ทางตัน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2566
“An Imperial Sake Cup and I” เป็นการแสดงในรูปแบบ Lecture Performance โดยมีอาจารย์ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็น “ตัวเอก” ของการแสดง ด้วยการทำหน้าที่เล่าเรื่องถ่ายทอดประวัติชีวิตของตนที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์บ้านเมือง ผ่านถ้วยสาเกซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
13
มิถุนายน
2566
บรรยากาศของการจัดงาน Bangkok Pride 2023 เทศกาลเฉลิมฉลองเพื่อสร้างความตระหนักรู้ถึงความหลากหลาย สิทธิเสรีภาพ และความเท่าเทียมของมนุษย์ โดยปราศจากเพศเป็นกรอบแบ่งแยกชีวิต ผู้เขียนยังเก็บเกี่ยวความหมายของกิจกรรมอื่นๆ เช่น นิทรรศการฝีมือของคนรุ่นใหม่ และ ถอดรหัสละครเวทีเรื่อง "อนธการ" (The Blue Hour)
แนวคิด-ปรัชญา
13
มิถุนายน
2566
นโยบายเพื่อประชาชนอาจต้องคำนึงถึงความชะงักงัน หากในกรณีมีการร้องเรียนต่อศาลรัฐธรรมนูญ และศาลอาจออกคำวินิจฉัยที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินนโยบาย ผู้เขียนชี้ให้เห็นถึงกรณีศึกษาบางเรื่องผ่านคำวินิจฉัยในอดีตที่ผ่านมาเพื่อถอดบทเรียน เตรียมรับมือ และป้องกันช่องว่างทางกฎหมายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
30
พฤษภาคม
2566
ชวนพิจารณาวุฒิสภาไทยเปรียบเทียบกับความจำเป็นในบทบาทของสภาสูงในระดับสากลว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร และบทบาทของวุฒิสภาเป็นอย่างไรในโลกปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2566
ผลการเลือกเมื่อ 14 พ.ค. 2566 แสดงถึงเจตจำนงและฉันทามติของสังคมไทยอย่างเด่นชัดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ทว่า กลับต้องพบกับอุปสรรคทางการเมืองที่ถูกวางไว้ผ่านรัฐธรรมนูญ 2560 ในบทเฉพาะกาล โดยกำหนดให้ สว. จำนวน 250 คน มีสิทธิร่วมเลือกนายกรัฐมนตรีผ่านกลไกการประชุมรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
3
กรกฎาคม
2565
รังสิมันต์ โรม นายทุน ขุนศึก ศักดินา และประชาชน PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
Subscribe to พิธา ลิ้มเจริญรัตน์