ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
3
มิถุนายน
2567
อุดมการณ์และการจัดตั้งของคณะราษฎร ตอนที่ 1 เสนอให้เห็นการสร้างอุดมการณ์ของคณะราษฎรผ่านนโยบาย และสัญลักษณ์โดยเฉพาะการดำเนินตามหลัก 6 ประการซึ่งคณะราษฎรเร่งสร้างระบอบใหม่ด้วยการใช้เครื่องมือเหล่านี้เป็นหลัก
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
2
พฤศจิกายน
2566
ปรากฏความยอกย้อนของการอธิบายสถานะพระราชกฤษฎีกาที่ 1 จากทัศนะที่มองผ่านการตีความคำจำกัดความของรัฐธรรมนูญในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องย้อนให้ผู้อ่านมองผ่านบริบททางประวัติศาสตร์ของสังคมสยามและการรับรู้สถานะรัฐธรรมนูญของชนชั้นนำในห้วงยามนั้นที่มองร่างพระราชกฤษฎีกาที่ 1 ยังมิได้เป็นรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยตามบริบทการเมืองในช่วงเวลานั้น
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
22
ตุลาคม
2566
การเติบโตและการเปลี่ยนแปลงของสังคมจีน ผ่านมุมมองของเด็กหญิงคนหนึ่งที่มีโอกาสได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมสำคัญของประเทศ ผ่านการเดินสวนสนามในครั้งนี้ ปลายรู้สึกตื่นเต้นและภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2565
แท้จริงแล้ว ความคิดที่จะสร้างหอประชุมมหาวิทยาลัยมิได้เพิ่งจะมาเริ่มในสมัย จอมพล ป. ดำรงตำแหน่งอธิการบดี แต่หากเคยมีความคิดที่จะจัดสร้างมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในยุคที่ นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
28
กันยายน
2565
ความพยายามในการบรรยาย “กฎหมายปกครอง” ในปี 2474 ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ในยุคสมัยซึ่งการเรียนการสอนกฎหมายของประเทศไทย ได้รับอิทธิพลจากระบบกฎหมายอังกฤษที่ไม่มีการแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายปกครองออกมาอย่างชัดเจน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2565
การศึกษาประวัติศาสตร์คณะราษฎรในมุมมองใหม่เริ่มต้นราวปลายทศวรรษ 2520 ทั้งมีงานเชิงวิชาการที่เสนอการตีความเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 จากฝ่ายที่เห็นด้วยและเห็นต่างไว้ 4 รูปแบบ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2565
ห้วงเวลาก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ปรากฏความตื่นตัวของกลุ่มคนในสังคมไทยจำนวนไม่น้อยที่ปรารถนาให้ประเทศของพวกตนได้ปกครองตามระบอบรัฐธรรมนูญแทนที่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ยิ่งเฉพาะในกลุ่มของผู้ทำงานด้านกฎหมายเยี่ยงพวกทนายความแล้ว ก็จะแสดงออกความคิดเห็นและเคลื่อนไหวเรียกร้องให้บ้านเมืองมีสิ่งที่เรียกว่า “ประชาธิปไตย” อย่างแข็งขัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
8
กรกฎาคม
2565
“ข้าพเจ้าใคร่ที่จะกล่าวด้วยความรู้สึกอันแท้จริงอีกอย่างหนึ่งว่า พร้อมกับที่เราชื่นชมยินดีในรัฐธรรมนูญอันเปนที่รักของเรานี้ เราควรมีความรู้สึกขอบคุณ ‘คณะราษฎร’ ผู้พลีชีพเข้าทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจนได้รัฐธรรมนูญอันนี้มาสมตามความประสงค์ ด้วย.”
พุทธทาสภิกขุ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
5
กรกฎาคม
2565
ข้าพเจ้ารู้จักปราโมทย์ฯ ตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 2475 ขณะที่ปราโมทย์ฯ เป็นนักเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรมซึ่งข้าพเจ้าเป็นผู้สอนคนหนึ่งแห่งโรงเรียนนั้น