ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัชกาลที่ 8

เกร็ดประวัติศาสตร์
10
มิถุนายน
2567
นอกจากวิธีการตรวจสอบพยานหลักฐานแวดล้อมที่มีข้อบกพร่องหลายประการและมีความน่าเชื่อถือน้อยแล้ว บันทึกคำให้การประกอบสำนวนคดีของโจทก์ พยาน และจำเลย ก็มีความเป็นไปได้และความสมเหตุสมผลไม่เพียงพอเอาผิดต่อจำเลยเช่นเดียวกัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2567
วิธีการสอบพยานหลักฐานแวดล้อมกรณีสวรรคต ร.8 มีข้อบกพร่องหลายประการและมีความน่าเชื่อถือน้อย แต่กลับสร้างบาดแผลให้กับประวัติศาสตร์ทางความรู้สึกและสร้างความสูญเสียต่อผู้บริสุทธิ์ บทความนี้จะช่วยแกะรอยและชี้แจงข้อบกพร่องดังกล่าว
บทบาท-ผลงาน
8
มิถุนายน
2567
หลังจากการขึ้นครองราชย์ของรัชกาลที่ 9 รัฐบาลนำโดยนายปรีดี พนมยงค์ได้แถลงนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินต่อรัฐสภา ซึ่งมีใจความสำคัญคือการพัฒนาประเทศอย่างครอบคลุม 12 ด้าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
มิถุนายน
2567
เหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8 ด้วยพระแสงปืนได้ก่อให้เกิดความสับสนในทางการเมืองอย่างมากท่ามกลางที่ประชุมรัฐสภาในรัฐบาลของนายปรีดี พนมยงค์ ที่เต็มไปด้วยความคลุมเครือในการสืบพยานของคดีดังกล่าวและการสืบราชสันตติวงศ์
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2566
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันอังคารที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ปรากฏว่าพรรคเสรีมนังคศิลาซึ่งนำโดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม และ พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ ได้รับชัยชนะด้วยคะแนนท่วมท้น แต่กลับมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์หนาหูถึงกรณีที่พรรคอันดับหนึ่งพรรคนี้ใช้วิธีฉ้อฉลเพื่อโกงการเลือกตั้งอย่างเลวร้ายที่สุด จนมีถ้อยคำเอ่ยขานกันว่าเป็น “การเลือกตั้งสกปรก”
24
สิงหาคม
2566
ประเทศไทยจำเป็นต้องแสดงบทบาท เป็นผู้สร้างสรรค์เพื่อความก้าวหน้าต่อการสร้างสันติธรรมประชาธิปไตยให้นานาประเทศสามารถยึดถือเป็นแบบอย่าง โดย ‘รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ’ ได้เสนอแบบอย่างที่ประเทศไทยสมควรกระทำทั้งสิ้น 8 ประการ
บทบาท-ผลงาน
13
สิงหาคม
2566
การหายสาบสูญของหะยีสุหลง อับดุลกอเดร์ โต๊ะมีนา พร้อมบุตรชาย และผู้ติดตามรวม 4 คน เมื่อ13 สิงหาคม 2497 เกิดขึ้นในช่วงของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่ใช้อำนาจปกครองแบบเผด็จการ โดยละเลยการรักษาเอกลักษณ์ของชาวมุสลิมผู้นับถือศาสนาอิสลาม ทั้งๆที่หะยีสุหลงมิใช่กบฎแบ่งแยกดินแดน
แนวคิด-ปรัชญา
1
สิงหาคม
2566
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เรื่องการแสวงหาบทบาทให้กับสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในรัชสมัยของรัชกาลที่ 8 ช่วงระหว่างปี 2478-2487 ว่าสถาบันกษัตริย์และสถาบันการเมืองในช่วงเวลานั้น มีส่วนในการแสวงหาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเช่นไร
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2566
“An Imperial Sake Cup and I” เป็นการแสดงในรูปแบบ Lecture Performance โดยมีอาจารย์ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็น “ตัวเอก” ของการแสดง ด้วยการทำหน้าที่เล่าเรื่องถ่ายทอดประวัติชีวิตของตนที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์บ้านเมือง ผ่านถ้วยสาเกซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กรกฎาคม
2566
ที่มาและการออกแบบของตึกโดม ซึ่งเป็นสัญลักษณ์หรือภาพแทนตัวของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อย่างทุกวันนี้ และยังเป็นมรดกสำคัญของคณะราษฎรที่ส่งต่อมาให้อยู่คู่กับมหาวิทยาลัยแห่งนี้ มีกระบวนการออกแบบและเรื่องราวที่เกี่ยวข้องเช่นใด
Subscribe to รัชกาลที่ 8