ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐบาล

แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2567
การแก้ไขความยากจนให้แก่ราษฎรในแนวคิดของ ดร.ปรีดี พนมยงค์ที่ท่านได้มองว่าเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาประเทศ ตามหลักของคณะราษฎร โดยจะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
กรกฎาคม
2567
การเมืองของประเทศจะสามารถดำเนินไปได้อย่างมีเสถียรภาพตามครรลองระบอบประชาธิปไตย จำเป็นต้องประกอบไปด้วยฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาลที่สามารถทำหน้าที่ถ่วงดุลซึ่งกันและกันได้อย่างเป็นระบบตามความต้องการของราษฎรในประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
กรกฎาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ได้บรรยายถึงบรรยากาศในสภาวันจันทร์ของการประชุมอภิปรายทั่วไปของฝ่ายค้านในการวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลคือ พรรคประชาธิปัตย์กับคณะรัฐบาลของนายพล ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2567
สำหรับระบอบการปกครองประเทศที่มีอำนาจสูงสุดเป็นของประชาชนพลเมืองทุกคนนั่นคือ “ประชาธิปไตย” ผ่านหลักการแยกอำนาจการปกครองในการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน และความเป็นประชาธิปไตยเป็นสิ่งสำคัญที่พลเมืองของประเทศควรปกป้องไว้
แนวคิด-ปรัชญา
17
มกราคม
2567
งบฯ กลาง เป็นเครื่องมือให้กับรัฐบาลในการใช้งบประมาณได้คล่องตัวในการดำเนินนโยบาย หรือสถานการณ์ที่ไม่แน่นอนในรายจ่ายในอนาคต แต่ตลอดระยะ 10 ปีที่ผ่านมา รัฐบาลมีแนวโน้มที่จะตั้งงบฯ กลางเพิ่มสูงขึ้น ส่วนที่น่าจะมีปัญหามากที่สุดก็คือ งบประมาณรายจ่ายงบกลางรายการเงินสำรองฉุกเฉินหรือจำเป็น ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งรัฐบาลยังมีพฤติกรรมที่ใช้จ่ายงบฯ กลาง เป็นเครื่องมือสำคัญในการดำเนินนโยบาย ทั้งที่รัฐบาลสามารถตั้งส่วนนี้ได้ในรายการและแผนงานปกติ
แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2566
ประเทศไทยยังคงวนเวียนกับวงจรและกับดักของเผด็จการจากรัฐประหาร แต่การเลือกตั้งก็ยังคงเป็นกิจกรรมสำคัญของประชาชนที่ขาดไม่ได้ตลอดมา ในฐานะเจ้าของสิทธิอันชอบธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย สิ่งสำคัญหนึ่งในการปกป้องระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยเอาไว้ให้ได้ ก็คือ การรักษาความชอบธรรมทางการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
3
กรกฎาคม
2566
สิ่งสำคัญก้าวแรกที่จะนับได้ว่าเป็นชัยชนะก้าวแรกของประชาชนอย่างแท้จริง คือ การมีนายกรัฐมนตรีที่เป็นฝ่ายประชาธิปไตย ซึ่งไม่ใช่สิ่งที่ง่าย เนื่องด้วยกฎกติกาที่เขียนโดยกลุ่มบุคคลที่สืบทอดอำนาจมาจากการรัฐประหารนั้น ไม่มีความเป็นประชาธิปไตยและความเป็นธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2566
จิ๊กซอว์หนึ่งของชัยชนะในระยะยาวที่เด็ดขาด คือ (1) ประชาชนต้องกลับมาศรัทธาเชื่อมั่นในระบบรัฐสภาให้ได้ (2) เราต้องทำให้ชนะการเลือกตั้ง พรรคที่ได้อันดับ 1 ต้องชนะโดยการไม่ซื้อเสียงให้ได้ (3) ผู้แทนราษฎรในสภาต้องกลับไปเป็นผู้แทนราษฎรที่ทรงเกียรติแบบที่อยู่ในประวัติศาสตร์ให้ได้ และ (4) ต้องชนะความคิดให้ได้
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2566
อำนาจบริหารของเจ้าหน้าที่ทำการแทนรัฐบาลกลางในช่วงรัชสมัยของรัชกาลที่ 6 เรื่อยมาจนถึงรัชกาลที่ 7 ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนลักษณะการบริหารบางประการ และอำนาจบริหารของเจ้าหน้าที่ผู้แทนกระทรวงทบวงการซึ่งได้ประจำอยู่ตามมณฑลต่างๆ ภายในรัฐ
แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2566
ในประเทศที่อาณาเขตกว้างขวางและมีประชากรพลเมืองอยู่มากในการบริหารราชการส่วนกลางอาจมิได้ตอบโจทย์เสียงทั้งหมด เนื่องจากกิจการบางประการพลเมืองอาจมีส่วนได้ประโยชน์เหมือนกัน หรือกิจการบางประการพลเมืองก็อาจมีส่วนได้ประโยชน์ที่แตกต่างกัน ฉะนั้นเพื่อให้ทั่วถึง ครอบคลุม และเหมาะสมแก่พลเมืองในทุกๆ พื้นที่ การกระจายอำนาจจึงเป็นสิ่งสำคัญ
Subscribe to รัฐบาล