รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2567
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นได้มีการยกกำลังพลผ่านทางพื้นที่ทางอินโดจีน อย่างไรก็ตามการทำสงครามมีความจำเป็นในการซื้อเสบียงที่จำเป็นต่อกำลังพลในการทำสงคราม จึงขอยืมเงินไทยเพื่อซื้อเสบียงให้แก่กองทัพ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2567
นโยบายสันติภาพระหว่าง 3 เดือนแรกของรัฐบาลซึ่งนายพันเอกหลวงพิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีโดยมีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังซึ่งรัฐบาลยังยึดหลัก 6 ประการในการดำเนินนโยบาย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
13
มิถุนายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์มีแนวคิดในการปฏิรูปการคลัง การสร้างเศรษฐกิจแห่งชาติ ที่เน้นบทบาทรัฐในการจัดการทางเศรษฐกิจ ในด้านรายได้และภาษีอากร ได้แก่ การออกกฎหมายเพื่อจัดเก็บภาษีใหม่ การลดและยกเลิกเงินรัชชูปการ และสถาปนาประมวลรัษฎากร
บทความ • บทบาท-ผลงาน
11
มิถุนายน
2567
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้ปรับปรุงพิกัดอัตราศุลกากร โดยลดหรือยกเว้นภาษีสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม การแพทย์ และการศึกษา เพิ่มภาษีสินค้านำเข้า ปรับวิธีเก็บภาษีข้าวจากเก็บตามสภาพเป็นเก็บตามราคา เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจและสนับสนุนราษฎร โดยเฉพาะชาวนา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
พฤษภาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศได้เจรจาเรียกร้องเอกราชและดินแดนคืนจากจักรวรรดินิยม เป็นรัฐมนตรีคลังปฏิรูปภาษีอากร จัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทย นำขบวนการเสรีไทยต่อต้านญี่ปุ่น ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และนายกฯ หลังรัฐประหารลี้ภัย เรียกร้องประชาธิปไตย เป็นรัฐบุรุษอาวุโสและนักประชาธิปไตยสำคัญของไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
เมษายน
2567
ประมวลรัษฎากรเป็นผลงานสำคัญของคณะราษฎร มุ่งปรับปรุงระบบภาษีให้เป็นธรรม ยกเลิกภาษีซ้ำซ้อน มีการเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชน และมีการแก้ไขอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ลดความเหลื่อมล้ำ ตลอดระยะเวลา 85 ปี
บทความ • บทบาท-ผลงาน
24
กรกฎาคม
2565
นายปรีดี พนมยงค์ หรือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2481 เรื่อยมาจวบจนกระทั่งวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ภายหลังกองทัพญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกรุกเข้ามาในเมืองไทยประมาณหนึ่งสัปดาห์เศษ สภาผู้แทนราษฎรปรึกษาหารือกันพร้อมลงมติแต่งตั้ง นายปรีดี ให้ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 ถือเป็นการแต่งตั้ง สืบเนื่องจาก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คนเดิมถึงแก่อสัญกรรม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
18
กันยายน
2564
แนวคิดและปณิธาน “รัฐบาลกับราษฎรเป็นคู่มือร่วมกัน” ช่างน่าครุ่นคิด โดยเฉพาะความตอนหนึ่งคือ “...รัฐบาลกับราษฎรไม่ใช่คู่อริหรือคู่แข่งขันกัน แต่เป็นคู่ร่วมคิดร่วมมือกันปฏิบัติงานของชาติ...” อีกทั้งยังควรโยงใยมาเตือนสติรัฐบาลหรือผู้คนแห่งยุคสมัยปัจจุบันให้ตระหนักว่า ไม่ควรทำตนเป็นศัตรูกับประชาชน!
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
18
พฤศจิกายน
2563
หากจะกล่าวว่า ท่านปรีดีผู้วางรากฐานการศึกษากฎหมายปกครองและการจัดตั้งศาลปกครองของไทย ก็คงจะไม่เกินความเป็นจริง