ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐสภา

เกร็ดประวัติศาสตร์
20
กรกฎาคม
2567
การเมืองของประเทศจะสามารถดำเนินไปได้อย่างมีเสถียรภาพตามครรลองระบอบประชาธิปไตย จำเป็นต้องประกอบไปด้วยฝ่ายค้านและฝ่ายรัฐบาลที่สามารถทำหน้าที่ถ่วงดุลซึ่งกันและกันได้อย่างเป็นระบบตามความต้องการของราษฎรในประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
กรกฎาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ได้บรรยายถึงบรรยากาศในสภาวันจันทร์ของการประชุมอภิปรายทั่วไปของฝ่ายค้านในการวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลคือ พรรคประชาธิปัตย์กับคณะรัฐบาลของนายพล ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
แนวคิด-ปรัชญา
30
เมษายน
2567
ปรีดี พนมยงค์ วิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญ 2517 ว่ายังไม่สอดคล้องกับหลักประชาธิปไตย เสนอให้ประชาชนเลือกวุฒิสภา รัฐสภาควบคุมการส่งกำลังทหารเข้า-ออกประเทศ พร้อมเสนอแนวคิดให้พระมหากษัตริย์อยู่เหนือการเมือง
31
มีนาคม
2567
วันที่ 23 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นต่อเนื่องเกี่ยวกับการชี้แจงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเหตุการณ์ อภิวัฒน์สยาม 2475 จากสัปดาห์ที่ผ่านมา
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2567
สำหรับระบอบการปกครองประเทศที่มีอำนาจสูงสุดเป็นของประชาชนพลเมืองทุกคนนั่นคือ “ประชาธิปไตย” ผ่านหลักการแยกอำนาจการปกครองในการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน และความเป็นประชาธิปไตยเป็นสิ่งสำคัญที่พลเมืองของประเทศควรปกป้องไว้
แนวคิด-ปรัชญา
1
กุมภาพันธ์
2567
พรรคการเมืองฝ่ายค้าน เป็นสิ่งที่มีประโยชน์อย่างมาก และขาดไม่ได้ เพราะการเมืองของบ้านเราในยุคนี้เต็มไปด้วยความเลอะเทอะ ความไม่สงบของบ้านเมือง ซึ่งจะทำให้การปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยนั้นเป็นไปด้วยความไม่ราบรื่น
แนวคิด-ปรัชญา
17
มกราคม
2567
งบฯ กลาง เป็นเครื่องมือให้กับรัฐบาลในการใช้งบประมาณได้คล่องตัวในการดำเนินนโยบาย หรือสถานการณ์ที่ไม่แน่นอนในรายจ่ายในอนาคต แต่ตลอดระยะ 10 ปีที่ผ่านมา รัฐบาลมีแนวโน้มที่จะตั้งงบฯ กลางเพิ่มสูงขึ้น ส่วนที่น่าจะมีปัญหามากที่สุดก็คือ งบประมาณรายจ่ายงบกลางรายการเงินสำรองฉุกเฉินหรือจำเป็น ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งรัฐบาลยังมีพฤติกรรมที่ใช้จ่ายงบฯ กลาง เป็นเครื่องมือสำคัญในการดำเนินนโยบาย ทั้งที่รัฐบาลสามารถตั้งส่วนนี้ได้ในรายการและแผนงานปกติ
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2566
ประเทศไทยยังคงวนเวียนกับวงจรและกับดักของเผด็จการจากรัฐประหาร แต่การเลือกตั้งก็ยังคงเป็นกิจกรรมสำคัญของประชาชนที่ขาดไม่ได้ตลอดมา ในฐานะเจ้าของสิทธิอันชอบธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย สิ่งสำคัญหนึ่งในการปกป้องระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยเอาไว้ให้ได้ ก็คือ การรักษาความชอบธรรมทางการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2566
ปัญหาการเกิดขึ้นของ "นายกฯ คนนอก" ด้วยกระบวนการที่เปิดประตูให้แก่บุคคลนอกระบอบเล็ดลอดเข้ามามีอำนาจโดยไม่ผ่านกลไกด้วยระบอบประชาธิปไตย ปัญหาดังกล่าวถูกปิดตายด้วยรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน ฉบับ 2540 กระทั่งปัญหาดังกล่าวบังเกิดอีกครั้งภายหลังการแทรกแซงทางการเมืองเมื่อปี พ.ศ. 2557 ในรัฐธรรมนูญสืบทอดอำนาจ ฉบับ 2560
Subscribe to รัฐสภา