ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วรเจตน์ ภาคีรัตน์

แนวคิด-ปรัชญา
31
สิงหาคม
2566
บทสัมภาษณ์ของ รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน โดยกล้า สมุทวณิช ผู้สัมภาษณ์ อาทิ อุปสรรคของประชาธิปไตยไทย, บทบาทและความจำเป็นขององค์กรอิสระ, ข้อเปรียบเทียบศาลรัฐธรรมนูญในต่างประเทศและความชอบธรรมทางการเมือง, เรื่องเร่งด่วนของฝ่ายนิติบัญญัติ ตลอดจนทางออก ข้อเสนอ และข้อคิดเห็นถึงการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ที่สมควรจะเกิดขึ้น เป็นต้น
แนวคิด-ปรัชญา
29
พฤษภาคม
2566
ค้นหาคำตอบจากหลักวิชาการทางกฎหมายมหาชนและรัฐธรรมนูญ โดยย้อนกลับไปสู่นิยามของ "นายกรัฐมนตรี" และ "ประธานาธิบดี" ตำแหน่งทางการเมืองที่ยึดโยงอย่างมีนัยสำคัญต่อรูปแบบการปกครองและอำนาจอธิปไตยของรัฐ พร้อมทั้งพิจารณาเหตุและผลของที่มาในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อันสัมพันธ์ต่อกลไกของระบบตัวแทนจากประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
21
กุมภาพันธ์
2566
เอกชัย ไชยนุวัติ ชวนสำรวจนิยามของประชาธิปไตย รวมไปถึงหนทางสำหรับการต่อต้านระบอบเผด็จการ ผ่านการสถาปนาอำนาจอธิปไตย กล่าวคือ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และ ฝ่ายตุลาการ อันมีหัวใจสำคัญที่ยึดโยงกับประชาชน ในฐานะเจ้าของอำนาจ ด้วยหลักการห่วงโซ่แห่งความชอบธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
13
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 51 ซึ่งได้สถาปนาสิทธิของประชาชนที่รัฐพึงปฏิบัติ รวมไปถึงกระบวนการการเรียกร้องความคุ้มครองหากรัฐมิปฏิบัติหรือดำเนินการล่าช้า ทว่าขั้นตอนดังกล่าวกลับนำไปสู่การตั้งคำถามต่อ "อำนาจสูงสุด" ระหว่างแนวทางปฏิบัติและตามตัวบททฤษฎี
แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2565
เมื่อเข้าสู่ช่วงเดือนตุลาคม เหตุการณ์สำคัญที่จะต้องหยิบมาพูดถึงคือ เหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม และ 6 ตุลาคม ซึ่งเป็นเหตุการณ์สำคัญในหน้าการเมืองไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเลวร้ายที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ทั้งสอง ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของการลอยนวลพ้นผิดที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งการลอยนวลพ้นผิดนี้สร้างบาดแผลให้กับสังคมไทยในหลายๆ ด้าน ทั้งก่อให้เกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรม อีกทั้งยังถ่างช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้กว้างขึ้น  
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤษภาคม
2565
'วัลยา' ได้นำเสนอความเป็นมา​ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2489 ซึ่งเป็นอีกผลงานสำคัญของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในเรื่องการเสนอแนวคิดแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2475 และร่วมยกร่างรัฐธรรมนูญ 2489 เพื่อให้เป็นรัฐธรรมนูญที่นำไปสู่แนวทางการสร้างหลักประชาธิปไตยสมบูรณ์ และระบอบประชาธิปไตยอันพรั่งพร้อมไปด้วยสามัคคีธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2564
ปรีดีได้ชวนให้ตั้งข้อสังเกตและพิจารณาถึงบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่มีทั้ง “บทถาวร” และ “บทเฉพาะกาล” ว่า ต้องมีหลักในการพิจารณาว่าบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ นั้น
แนวคิด-ปรัชญา
26
พฤศจิกายน
2564
ภายใต้ความขัดแย้งที่ลึกลงไปจนถึงความคิดความเชื่อ ระดับอุดมการณ์ของการปกครอง ดังที่ปรากฏอยู่ในสังคมไทยในเวลานี้ ผมไม่คิดว่าจะมีคนกลางเหลืออยู่
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
ธันวาคม
2563
แม้เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเป็นผู้ร่างปฐมรัฐธรรมนูญนี้ แต่หลายคนคงยังไม่ทราบว่า หลวงประดิษฐ์ฯ ใช้ให้ นายชุบ ศาลยาชีวิน เป็นผู้พิมพ์ดีดร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ขึ้นมา
Subscribe to วรเจตน์ ภาคีรัตน์