วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
11
สิงหาคม
2565
ผู้เขียนนำเสนอเรื่องราวการเคลื่อนไหวของภารกิจสำคัญในประวัติศาสตร์ คือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านหลักฐานร่วมสมัยทางประวัติศาสตร์ คือ บันทึกโมฆสงคราม อันเป็นเอกสารที่ช่วยขยายเพดานความรู้เกี่ยวกับบริบททางการเมืองของโลกและไทยท่ามกลางไฟสงครามโลกครั้งที่ 2
บทความ • บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
เนื่องในวาระ 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยามของคณะราษฎร แทบจะไม่มีการเล่าถึงในวันที่ปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎร ถวายธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 แด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
บทความ • บทบาท-ผลงาน
18
มีนาคม
2565
'พระไพศาล วิสาโล' เปรียบพระมหากษัตริย์นาม 'พระเจ้าจักรา' ว่า "ทรงเป็นกษัตริย์ที่ทรงคุณธรรม ไม่ประสงค์ให้ไพร่พลของพระองค์ต้องสูญเสียเลือดเนื้อ จึงเลือกใช้วิธีการรบแบบยุทธหัตถีกับพระเจ้าหงสา ครั้นประสบชัยชนะแล้วก็สั่งปล่อยแม่ทัพนายกอง และทหารกรุงหงสาทั้งหมด หาได้จับกุมคุมขังหรือทำร้ายแต่อย่างใดไม่"
บทความ • บทบาท-ผลงาน
17
มีนาคม
2565
ณ ขณะที่ผู้เขียนได้เขียนบทความชิ้นนี้ อยู่ในช่วงเวลาของเหตุการณ์ที่รัฐบาลอเมริกันกำลังจะจัดตั้งรัฐบาลในอิรัก จะเห็นได้ว่า แนวคิดเรื่อง "สันติภาพ สันติธรรม มนุษยธรรม" ยังคงนำมาใช้ได้กับทุกยุคทุกสมัย แม้กระทั่งเหตุการณ์ความรุนแรงที่กำลังเกิดขึ้นก็ตาม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มกราคม
2564
วันนี้ในอดีต (วันที่ 29 มกราคม 2526) งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 39 ณ สนามศุภชลาศัย มีการแปรอักษครั้งประวัติศาสตร์เป็นภาพนายปรีดี พนมยงค์ พร้อมบทกลอนอมตะที่ว่า
บทความ • บทสัมภาษณ์
10
มิถุนายน
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข เกิดในสมัยรัชกาลที่ 6 ในตระกูล ณ ป้อมเพชร์ ซึ่งเป็นตระกูลขุนนาง บิดาของท่านคือ พระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา เป็นอธิบดีกรมราชทัณฑ์คนแรกของประเทศ เมื่ออายุไม่ถึง 17 ปี ท่านผู้หญิงก็สมรสกับนายปรีดี พนมยงค์ ดอกเตอร์หนุ่มนักกฎหมายชื่อดังสมัยนั้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์
27
มีนาคม
2563
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เรื่อง
“คืนนั้นผมเข้านอนปรกติ ถึงเวลาเขามาปลุก บอกว่า ไปกันเถอะ แล้วต่างคนต่างแยกย้ายไปตามจุดนัดหมายตัวเอง ทุกหมู่เหล่ามีชาวบ้านอย่างเราไปอยู่ด้วย ถนนราชดำเนินตอนนั้นเงียบมาก พี่ชายบอกว่า เดี๋ยวมีคนเอาปืนมาให้ ผมคิดอย่าเดียวว่า ตั้งใจมาทำงานให้สำเร็จ เขาสู้ก็สู้กับเขา ตายก็ตาย…”
กระจ่าง ตุลารักษ์ คณะราษฎรคนสุดท้าย ผู้อยู่ในเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครอง หวนรำลึกเหตุการณ์ในเช้าวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ระหว่างให้สัมภาษณ์นิตยสาร สารคดี ก่อนเสียชีวิตไม่นาน