ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 2

เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2563
ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีความพยายามถักทอจิตสํานึกในเรื่องชาติไว้เป็นฐานสําหรับค้ําจุนอํานาจความชอบธรรม ชาวไทยสมัยนั้นจึงถูกกระตุ้นเตือนอยู่ตลอดเวลาว่า ตนกําลังใช้ชีวิตอยู่ใน “ประเทศไทยใหม่” จึงต้องประพฤติตัวให้เป็น “ผู้มีอารยะ” เพื่อช่วยกันสร้างชาติให้ยิ่งใหญ่
บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2563
ในวาระครบรอบ 100 ปีแห่งการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ผู้ทรงได้รับการยกย่องเป็น "บิดาและองค์ปฐมาจารย์ของนักนิติศาสตร์แห่งประเทศไทย" จึงขอร่วมรำลึกถึงเสด็จในกรมพระองค์นั้น ผ่านบทความ "การยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต: จากกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ถึงนายปรีดี พนมยงค์"
แนวคิด-ปรัชญา
6
สิงหาคม
2563
เมื่อกรกฎาคม 2480 กระทรวงการต่างประเทศไทยได้พิมพ์เอกสารเล่มเล็ก ๆ เล่มหนึ่งเป็นภาษาฝรั่งเศสชื่อ ประเทศสยามผู้รักความสงบ และนโยบายการต่างประเทศของรัฐบาลสยาม (Le Siam Pacifiste et la Politique Etrangere du Gouvernement Siamois) เอกสารนี้มีคําอธิบายบนหน้าปกใน ลักษณะเป็นชื่อหลั่นรองว่า “ข้อความจากสุนทรพจน์และคําแถลงต่อหนังสือพิมพ์ของ ฯพณฯ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสยาม” รายการสุนทรพจน์และคําแถลงที่เสนอในเอกสาร มีดังนี้
5
สิงหาคม
2563
สถาบันปรีดี พนมยงค์ รวบรวมหนังสือประจำเดือนกรกฎาคม ชวนผู้อ่านรำลึก "วาระครบรอบ 75 ปี วันสันติภาพไทย" ในวันที่ 16 สิงหาคมนี้ วันที่นายปรีดี พนมยงค์ออกประกาศสันติภาพให้สถานะสงครามกับอังกฤษ-สหรัฐฯ เป็นโมฆะ ดังนั้น 16 สิงหาคม 2488 จึงนับว่าเป็นหมุดหมายครั้งสำคัญทางประวัติศาสตร์การเมืองไทยร่วมสมัย
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
สิงหาคม
2563
บทบาทของนายสงวน ตุลารักษ์ ในหน้าประวัติศาสตร์เสรีไทย มีความชัดเจนและโดดเด่น ซึ่งหากจะพิจารณาอย่างเป็นธรรมและถ่องแท้แล้ว จะเห็นได้ว่าเป็นรองกว่าบุคคลอื่น ๆ ในขบวนการเสรีไทยทั้งภายในและภายนอกประเทศเพียงไม่กี่คนเท่านั้น
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2563
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นอกจากภยันตรายแก่ชีวิตจากสงคราม ที่มีการทิ้งระเบิดในหลายจังหวัดของประเทศไทยแล้ว ค่าครองชีพที่พุ่งสูงขึ้นอย่างมาก (ประมาณ 10 เท่า) ทำให้ชีวิตผู้คนประสบปัญหาทางเศรษฐกิจตามไปด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
สิงหาคม
2563
เมื่อเอ่ยถึง "ทวี บุณยเกตุ" หลายคนอาจนึกถึง "นายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งสั้นที่สุด" หรือนายกขัตตาทัพที่รอ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช อัครราชทูตไทยที่สหรัฐอเมริกา กลับมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
สิงหาคม
2563
"สำคัญที่เกียรติ" คือ หลักการในชีวิตของนายดิเรก ชัยนาม ผู้ก่อการ 2475 กำลังสำคัญของขบวนการเสรีไทย นักการทูตผู้โดดเด่น และนักการเมืองที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นคนซื่อสัตย์สุจริต
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
กรกฎาคม
2563
“หัวเมืองไม่ได้รับการบำรุงอย่างใดเลย ปล่อยตามธรรมชาติ แต่มองดูมณฑลชั้นในโดยเฉพาะจังหวัดพระนคร จะเห็นว่าถูกบำรุงอย่างฟุ่มเฟือย ในเมื่อเทียบกันข้อนี้ชาวหัวเมืองได้พร่ำร้องมานานนักหนาแล้ว”
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2563
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แกะรอยหนังสือนวนิยาย และภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งมาจากบทประพันธ์และการอำนวยการสร้างของนายปรีดี พนมยงค์ ที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2483 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2