ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 2

บทบาท-ผลงาน
24
พฤศจิกายน
2563
หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ปรีดียังดำเนินการอีกหลายประการเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการที่ได้ประกาศไว้
ชีวิต-ครอบครัว
15
พฤศจิกายน
2563
15 พฤศจิกายน 2495 ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ถูกจับกุมตัวในข้อหา 'กบฏสันติภาพ'
10
พฤศจิกายน
2563
สถาบันปรีดี พนมยงค์ พบปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2563
อ่านชีวประวัติของนายเสริม วินิจฉัยกุล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เสรีไทย ซึ่งเคยเป็นผู้ช่วยจัดทำตำรา ม.ธ.ก. ต่อได้ที่บทความเรื่องนี้ของ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ'
บทบาท-ผลงาน
5
พฤศจิกายน
2563
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ได้ตั้งข้อสังเกตถึงที่มาของปัญหาไว้ 3 ประการ คือ (1) ปัญหาจากระบอบอํานาจนิยม (2) ปัญหาทางเศรษฐกิจ และ (3) กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8
บทบาท-ผลงาน
3
พฤศจิกายน
2563
นายปรีดี พนมยงค์ และคณะ ได้ออกเดินทางไปกระชับสัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก ถึง 9 แห่ง คือ จีน ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ เดนมาร์ค สวีเดน และนอร์เวย์
บทบาท-ผลงาน
2
พฤศจิกายน
2563
หลังลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489 แล้ว นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับเชิญจากรัฐบาลหลายประเทศให้ไปเยือนประเทศเหล่านั้น
บทบาท-ผลงาน
1
พฤศจิกายน
2563
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงแล้ว ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้เดินทางไปกับนายปรีดี ในคณะทูตสันถวไมตรี ที่เดินทางไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลก เพื่อเจริญสัมพันธไมตรี และดำเนินการให้นานาชาติสนับสนุนให้ไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
31
ตุลาคม
2563
คนทั่วไปมักรู้จักงานประพันธ์ของนายปรีดี พนมยงค์ เพียงแต่ในส่วนของผลงานร้อยแก้ว นั่นคือ นวนิยายและบทภาพยนตร์เรื่อง "พระเจ้าช้างเผือก" รวมถึงบทความต่าง ๆ ทว่ายังมีงานประพันธ์ของปรีดีอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งไม่ค่อยมีใครเอ่ยถึงนัก ได้แก่ ผลงานร้อยกรองหรือบทกวี
แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความให้ข้อคิดนิสิตนักศึกษา และประชาชนหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ถึงการฟื้นกลับมาของอำนาจเผด็จการหลังการรัฐประหาร 2490 การปฏิวัติของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2500/2501 จนมาถึงการรัฐประหารตัวเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2