ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สมคิด เลิศไพฑูรย์

แนวคิด-ปรัชญา
16
มกราคม
2567
เนื่องในโอกาสครบรอบวันอนิจกรรมของ ศาสตราจารย์พิเศษ อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ นักวิชาการผู้วางรากฐานให้แก่กฎหมายมหาชนในประเทศไทย ขอเชิญชวนอ่านบทความทางกฎหมายจากผลงานทางวิชาการที่มีคุณูปการต่อวงการนิติศาสตร์ไทย
แนวคิด-ปรัชญา
31
สิงหาคม
2566
บทสัมภาษณ์ของ รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน โดยกล้า สมุทวณิช ผู้สัมภาษณ์ อาทิ อุปสรรคของประชาธิปไตยไทย, บทบาทและความจำเป็นขององค์กรอิสระ, ข้อเปรียบเทียบศาลรัฐธรรมนูญในต่างประเทศและความชอบธรรมทางการเมือง, เรื่องเร่งด่วนของฝ่ายนิติบัญญัติ ตลอดจนทางออก ข้อเสนอ และข้อคิดเห็นถึงการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ที่สมควรจะเกิดขึ้น เป็นต้น
แนวคิด-ปรัชญา
20
กรกฎาคม
2566
แนวคิดเสรีนิยมประชาธิปไตย ปรากฏอยู่ในการรับรู้ของชนชั้นนำสยามและราษฎรตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 จากการเผยแพร่ของ The Bangkok Recorder ได้สร้างคุณูปการต่อการศึกษารัฐธรรมนูญของชนรุ่นหลังและเป็นส่วนหนึ่งที่นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัตน์ 2475
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2565
"ยุทธการปลดล็อคท้องถิ่น" แก้ไขกฎหมายเพื่อเพิ่มอำนาจในการจัดทำบริการสาธารณะเป็นการทั่วไป และแก้ไขเพื่อเร่งรัดการถ่ายโอนภารกิจ อีกทั้งทลายข้อจำกัดที่เกิดจากปัญหาด้านการเงิน ด้วยกลยุทธ์ในการบริหารงบประมาณ รวมไปถึงการปรับมุมมองของหน่วยงานรัฐส่วนกลางที่มีต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤษภาคม
2565
'วัลยา' ได้นำเสนอความเป็นมา​ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2489 ซึ่งเป็นอีกผลงานสำคัญของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในเรื่องการเสนอแนวคิดแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2475 และร่วมยกร่างรัฐธรรมนูญ 2489 เพื่อให้เป็นรัฐธรรมนูญที่นำไปสู่แนวทางการสร้างหลักประชาธิปไตยสมบูรณ์ และระบอบประชาธิปไตยอันพรั่งพร้อมไปด้วยสามัคคีธรรม
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มกราคม
2565
ต้นแบบการทำงานของอิสสระ  อิสสระ มีนายปรีดี พนมยงค์ (คุณลุง) เป็นต้นแบบในการทำงาน ในการเป็นผู้ประพฤติธรรม เป็นหัวหน้าครอบครัวที่ดี เป็นนักประชาธิปไตย เป็นนักวิชาการด้านกฎหมายมหาชนที่มองการณ์ไกล มีความสามารถ รอบรู้ มีความซื่อสัตย์สุจริต อุทิศตนและทำประโยชน์ให้แก่ประเทศ
บทบาท-ผลงาน
9
ธันวาคม
2563
กลไกการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ในรัฐธรรมนูญอุดมคติของปรีดี สะท้อนผ่าน (1) การได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต้องมีความเป็นประชาธิปไตย (2) การแยกข้าราชการประจำออกจากฝ่ายการเมือง (3) นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ (4) การมีองค์กรตรวจสอบที่มีความเป็นอิสระและเป็นกลาง
บทบาท-ผลงาน
8
ธันวาคม
2563
บางส่วนจากข้อสังเกตของศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ ถึงรัฐธรรมนููญในอุดมคติของปรีดี พนมยงค์ ว่าด้วยสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาค
Subscribe to สมคิด เลิศไพฑูรย์