สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
เมษายน
2566
อ่านจุดเชื่อมโยงและความสัมพันธ์ระหว่าง 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' และ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านข้อเขียนเรื่อง "รัฐบุรุษอาวุโสกลับคืนสู่มาตุภูมิ" และ "การลาออกของนายปรีดี" บทความของกุหลาบซึ่งได้ตีพิมพ์ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2490
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
สิงหาคม
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' เขียนบทความนี้ขึ้นหลังจากที่ได้ติดตามข่าวของ MUT 2565 ที่ปรากฏตามสื่อต่างๆ ถึงเรื่องราวชีวิตครอบครัวที่บิดาและมารดาเป็นพนักงานฝ่ายรักษาความสะอาดฯ กอปรกับเพิ่งผ่านพ้นช่วงวันสันติภาพไทย ทำให้ผู้เขียนพลันนึกถึงสมาชิกขบวนการเสรีไทยท่านหนึ่ง ผู้ซึ่งมีอาชีพปฏิบัติหน้าที่เป็นพนักงานแผนกรักษาความสะอาดของเทศบาลนครกรุงเทพเช่นกัน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
27
สิงหาคม
2565
ท่าทีของสหรัฐอเมริกาต่อการรับรองสถานะของขบวนการเสรีไทย ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญ คือ โทรเลขจาก 'คอร์เดลล์ ฮัลล์' รมว.ต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ถึง พันเอก กูลเฟลโลว์ รวมไปถึงข้อสังเกตของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ต่อการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกากับไทยผ่านโทรเลขฉบับดังกล่าว
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
สิงหาคม
2565
ผู้เขียนได้นำเสนอเรื่องราวของ "งานฉลองสันติภาพ" งานรื่นเริงที่ถูกจัดขึ้นภายหลังสงคราม ทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองสันติภาพที่กลับสู้มวลชนอีกครั้ง ซึ่งภายในงานมีมหรสพต่างๆ มากมายที่ส่งเสริมความรู้ให้ราษฎรไทยรู้จักความหมายและตระหนักถึงความสำคัญของสันติภาพ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
สิงหาคม
2565
โทรเลขของรัฐมนตรีต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา ถึงเอกอัครรัฐทูตสหรัฐอเมริกาประจำอังกฤษ ซึ่งเป็นสาสน์ถึงนายปรีดีเพื่อแนะนำในถึงการประกาศโมฆะสงคราม
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
กรกฎาคม
2565
ข้าพเจ้ารู้จักปราโมทย์ฯ ตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 2475 ขณะที่ปราโมทย์ฯ เป็นนักเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรมซึ่งข้าพเจ้าเป็นผู้สอนคนหนึ่งแห่งโรงเรียนนั้น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มีนาคม
2565
"รัฐบุรุษ" หรือ THE STATESMAN WEEKLY มีลักษณะเป็น “แม็กกาซีนการเมืองรายสัปดาห์ ฉบับสมบูรณ์แบบในเมืองไทย” บรรณาธิการ เจ้าของ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา คือ เทพวิฑูร นุชเกษม จำหน่ายราคาฉบับละ 2 บาท และฉบับรำลึกท่านปรีดีนั้น วางแผงเป็นหนังสือพิมพ์ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 ประจำวันอังคารที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
โมฆสงครามในทัศนะของปรีดี พนมยงค์ และข้อเท็จจริงเพิ่มเติมเกี่ยวกับเหตุการณ์วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485
26
มกราคม
2565
10 ปี ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้นเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 และรัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับสหรัฐฯ และบริเตนใหญ่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นจุดที่รัฐบาลไทยหันเข้าหาญี่ปุ่นเต็มตัว และต่อต้านสัมพันธมิตร เข้าสู่สงครามเป็นทางการ [1] คำถามสำคัญคือ ทำไมวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 จึงเป็นโมฆสงครามตามทัศนะของปรีดี พนมยงค์ ในบทความนี้จะค่อยๆ คลี่ให้เห็นคำตอบต่อไป
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
14
มกราคม
2565
ที่สำคัญ วันนี้เป็นวันของเด็กรุ่นใหม่ ควรเอาใจใส่เรื่องการเมือง สื่อมวลชนควรมีจิตสำนึกทางประวัติศาสตร์ เราต้องอย่าลืมอดีต ไม่มีอดีตจะมีปัจจุบันได้อย่างไร
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
1
ธันวาคม
2564
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า นับเป็นสมเด็จพระนางเจ้าพระองค์สุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระชนมายุยืนยาวจนได้ทอดพระเนตรสงครามโลกทั้ง ๒ ครั้ง ทรงเป็นพระชนนีของสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ซึ่งต่อมาได้เฉลิมพระนามเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในห้วงเวลาของสงครามโลก ครั้งที่ ๒ สมเด็จพระพันวัสสาฯ จึงมีศักดิ์เป็น “พระอัยยิกา” ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล