ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สามัคยานุเคราะห์สมาคม

แนวคิด-ปรัชญา
12
พฤศจิกายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอให้เห็นข้อบิดเบือนในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ ในเรื่องการก่อตั้งคณะราษฎรเมื่อปี 2469 โดยเฉพาะความคลาดเคลื่อนเรื่องปีที่ก่อตั้งและสถานที่ที่ไม่ตรงกับข้อเท็จจริง
บทบาท-ผลงาน
22
ตุลาคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอข้อบิดเบือนในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ 2 ประการคือ การบิดเบือนเรื่องแผลงสมาคมสามัคยานุเคราะห์เป็นสหภาพแรงงาน และผลของการต่อสู้กับอัครราชทูตไทยตัวแทนของสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของนักเรียนนอก
บทบาท-ผลงาน
3
พฤษภาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เป็นนักกฎหมายและนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ศึกษาที่ฝรั่งเศสและริเริ่ม “สามัคยานุเคราะห์สมาคม” ก่อนจะเป็นผู้นำคนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไทยสู่ระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
10
ธันวาคม
2566
นำเสนอเรื่องราวตลอดชีวิตของปรีดี พนมยงค์ ที่ได้รับการหล่อหลอมและการก่อร่างความคิดทางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ที่ถ่ายทอดออกมาในรัฐธรรมนูญที่ปรีดี พนมยงค์มีส่วนสำคัญในการร่างออกมาทั้ง 3 ฉบับตั้งแต่อภิวัฒน์ 2475
บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2565
ในวาระ 90 ปี การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ยังมีเรื่องราวของคณะราษฎรในแง่มุมใหม่จากหลักฐานประวัติศาสตร์ ทั้งการตื่นขึ้นทางความคิดของราษฎรสามัญ การผลิตซ้ำแนวคิดของคณะราษฎรในเยาวชนคนหนุ่มสาว หรือ เยาวรุ่นอย่างต่อเนื่อง
บทบาท-ผลงาน
24
พฤศจิกายน
2563
หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ปรีดียังดำเนินการอีกหลายประการเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการที่ได้ประกาศไว้
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
สิงหาคม
2563
ในปี 2515 นายปรีดีฯ เคยอธิบายไว้ว่า ทำไมเพื่อนนักเรียนในฝรั่งเศส ทั้งที่เป็นผู้ร่วมก่อการและไม่ใช่ผู้ร่วมก่อการ จึงเรียกตนเองว่า "อาจารย์" เพื่อโต้แย้งคำอธิบายของนายควง อภัยวงศ์ เพื่อนร่วมก่อการอีกคนหนึ่งซึ่งได้เข้าร่วมคณะราษฎรก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองไม่นานนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
พฤษภาคม
2563
ใครที่เคยไปเรียนหนังสือหรือทำงานที่ประเทศฝรั่งเศส ย่อมมีโอกาสได้พบคุณลุงคุณป้าคู่หนึ่ง คุณลุงมีรูปร่างค่อนข้างเล็ก ผมสีดอกเลาตัดสั้นเกรียน หน้าตาสดใส ดูไม่ออกว่าท่านอายุ 80 ปีกว่า คุณป้าคนผิวคล้ำ รูปร่างสันทัด คล่องแคล่ว โอภาปราศรัย
Subscribe to สามัคยานุเคราะห์สมาคม