ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สิทธิเสรีภาพ

แนวคิด-ปรัชญา
6
สิงหาคม
2566
หัวใจสำคัญของประชาธิปไตยคือประชาชน การให้การศึกษาเรื่องประชาธิปไตยแก่ประชาชนจึงเป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้ เช่นเดียวกัน การพัฒนาประชาธิปไตยก็มีหลักสำคัญอยู่ที่การพัฒนาคน
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
แนวคิด-ปรัชญา
4
กรกฎาคม
2566
ประเทศที่จะเป็นประชาธิปไตยได้ดี คือคนในสังคมต้องพร้อมเป็นประชาธิปไตย แล้วการที่พร้อมก็คือมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแข็งขันไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม มีเงื่อนไขอยู่แค่ประชาชนกับทหารดังนั้นสิ่งที่ต้องทำก็คือ ทำให้ทหารเป็นของประชาชน อยู่กับประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤษภาคม
2566
3 ทศวรรษแห่ง "วันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก" (3 พฤษภาคม) ชวนทบทวนสำคัญในการทำงานของคนทำสื่อท่ามกลางวิกฤติหรือความเปลี่ยนแปลงทางสังคม พร้อมถอดรหัสท่าทีและความเคลื่อนไหวในแวดวงสื่อมวลชนของไทย ภายใต้ภูมิทัศน์ทางการเมืองที่แปรเปลี่ยนไปตามพลวัต เพื่อทบทวนการทำหน้าที่ของสื่อมวลชนด้วยหลักการของระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
13
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 51 ซึ่งได้สถาปนาสิทธิของประชาชนที่รัฐพึงปฏิบัติ รวมไปถึงกระบวนการการเรียกร้องความคุ้มครองหากรัฐมิปฏิบัติหรือดำเนินการล่าช้า ทว่าขั้นตอนดังกล่าวกลับนำไปสู่การตั้งคำถามต่อ "อำนาจสูงสุด" ระหว่างแนวทางปฏิบัติและตามตัวบททฤษฎี
แนวคิด-ปรัชญา
8
กุมภาพันธ์
2566
กุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา) กับข้อเขียน "เสรีภาพ" ตีพิมพ์ราวเดือนกันยายน พ.ศ. 2487 โดยเริ่มต้นจากการตั้งคำถามพื้นฐานที่ว่าด้วยเสรีภาพนั้นคืออะไร? มนุษย์ได้เสรีภาพมาอย่างไร? มนุษย์จะพึงใช้เสรีภาพอย่างไร? รวมถึงประเด็นสำคัญคือ มนุษย์จะรักษาสิ่งล้ำค่านี้ไว้ได้อย่างไร? พร้อมด้วยข้อวิพากษ์ของ "ขอบเขตของการใช้เสรีภาพ"
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึงการต่อสู้ทางการเมืองด้วย "การอดอาหาร" (Hunger Strike) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายทางอุดมการณ์เพื่อตอบสนองแก่ข้อเรียกร้องจนนำไปสู่การหาทางออกของสังคม ผ่านกรณีความเคลื่อนไหวทางการเมืองในต่างประเทศ และ ไทยโดย 'ฉลาด วรฉัตร' อดีตนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่สามารถสร้างแรงกระเพื่อมให้แก่สังคมบนหน้าประวัติศาสตร์เหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
6
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงปัญหาเชิงวัฒนธรรมที่สืบถอดกันมาในรูปแบบโครงสร้างรัฐนิยมที่ถูกเชิดชูขึ้นมาอยู่เหนือพื้นฐานสิทธิแห่งเสรีภาพ ผ่านการแทรกซึมในชีวิตประจำวันของสังคม ไม่เว้นแม้กระทั่งชีวิตของเด็กนักเรียน
แนวคิด-ปรัชญา
31
มกราคม
2566
กล้า สมุทวณิช กล่าวถึง พลวัตของสิทธิเสรีภาพในรัฐธรรมนูญไทย ซึ่งปรากฏการกำหนดสภาพบังคับในเชิงป้องกันการละเมิดจากอำนาจรัฐ และสิทธิเรียกร้องต่อรัฐให้บังคับตามสิทธิ อันเป็นคุณค่าพื้นฐานของพลเมืองดังบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับ 2540 และ 2550 ทว่า สิทธิเสรีภาพของประชาชนที่ถูกรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญไว้โดยชัดแจ้ง กลับมีจุดหักเหเมื่อรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ได้ถือกำเนิดขึ้น ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อ "มุมมอง" ตลอดจน "การตีความ"
แนวคิด-ปรัชญา
26
มกราคม
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของหลักการสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนคำอธิบายและนิยามของหลักการดังกล่าวซึ่งเชื่อมร้อยต่อกันในทางกฎหมาย นอกจากนี้ยังได้บอกเล่าถึงจุดเริ่มต้นของสิทธิเสรีภาพในภูมิทัศน์การเมืองไทย ซึ่งปรากฏการตีความบทบัญญัติในกระบวนการยุติธรรมอันนำไปสู่การไร้สภาพบังคับทางกฎหมาย โดยยกกรณีศึกษาผ่านคำวินิจฉัยของคำพิพากษาในคดีต่างๆ
Subscribe to สิทธิเสรีภาพ