ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ประวัติศาสตร์การเมือง

9
กรกฎาคม
2567
หนังสือเล่มนี้มุ่งศึกษา “ความคิดทางการเมือง” ของปรีดี พนมยงค์ ผู้เขียน : เฉลิมเกียรติ ผิวนวล พิมพ์ที่ : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : 2527 จำนวนหน้า : 284 หน้า ISBN : - สารบัญ
8
กันยายน
2566
เนื่องในวาระ 72 ปี วันสันติภาพไทย ภายในหนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมบทความหลายชิ้นมาตีพิมพ์ โดยมีการกล่าวถึงการถวายความปลอดภัยแด่สมเด็จพระศรีสวรินทราบรม ราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า บทความของท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่เขียนเล่าเรื่องชีวิตในยามสงคราม รวมถึงประมวลข้อความทรงจำจาก ปรีดี–ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ จำกัด–ฉลบชลัยย์ พลางกูร และ ป๋วย อึ๊งภากรณ์
8
กันยายน
2566
เนื่องในวาระ 71 ปี วันสันติภาพไทย ภายในหนังสือเล่มนี้ได้มีการรวบรวมบทความต่างๆ ที่สะท้อนถึงแนวคิดสันติประชาธรรมและประวัติศาสตร์ของขบวนการเสรีไทย ตลอดจนเรี่องที่เกี่ยวเนื่อง ผู้เขียน : กษิดิศ อนันทนาธร กองบรรณาธิการ พิมพ์ที่ : หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : 2559 จำนวนหน้า : 168 หน้า ISBN:  978-974-466-893-6 สารบัญ
29
สิงหาคม
2566
เนื่องในวาระ 74 ปี วันสันติภาพไทย ทายาทของ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน ได้อนุญาตให้นำ บันทึกลับของพันโท อรุณ เสรีไทย 136 มาตีพิมพ์เผยแพร่อีกครั้ง ภายในหนังสือเล่มนี้มีการกล่าวถึงผลงาน อุดมคติ และความเสียสละของสมาชิกขบวนการเสรีไทย บันทึกการเสวนาที่จัดขึ้นในวาระ 73 ปี วันสันติภาพไทย และรำลึกถึงศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
29
สิงหาคม
2566
เนื่องในวาระ 73 ปี วันสันติภาพไทย ภายในหนังสือเล่มนี้มีการกล่าวถึงงานรำลึก 72 ปี วันสันติภาพไทย ประวัติของ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน รวมถึงเรื่องราวของคุณจำกัด พลางกูร ผู้เขียน : กษิดิศ อนันทนาธร พิมพ์ที่ : สยามปริทัศน์, กรุงเทพมหานคร พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : 2561 จำนวนหน้า : 160 หน้า ISBN:  978-974-315-978-7 สารบัญ
16
สิงหาคม
2566
78 ปีวันสันติภาพไทย : เมืองไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เนื่องในวาระ 78 ปี วันสันติภาพไทย คุณรณดล นุ่มนนท์ ทายาทของศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.แถมสุข นุ่มนนท์ ที่อนุญาตให้นำหนังสือเรื่อง เมืองไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ของอาจารย์แถมสุข ผู้ล่วงลับ มาตีพิมพ์เผยแพร่อีกครั้ง โดยบรรณาธิการเล่มได้คงต้นฉบับไว้ตามเดิม แต่ตัดส่วนภาคผนวกออกไป ภายในหนังสือเล่มนี้มีการกล่าวถึงสภาพการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทย ในห้วงสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งกองทัพญี่ปุ่นเข้ามามีบทบาทอย่างมากในการเมืองไทย โดยเฉพาะเรื่องนโยบายการสร้างชาติของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในยุคนั้น และเรื่องราวของขบวนการเสรีไทย
16
สิงหาคม
2566
75 ปีวันสันติภาพไทย : บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องในวาระ 75 ปี วันสันติภาพไทย และเพื่อเป็นการร่วมเฉลิมฉลองโอกาสครบ 10 รอบนักษัตรของนายปรีดี จึงได้มีการนำ บางเรื่องเกี่ยวกับพระบรมวงศานุวงศ์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 มาตีพิมพ์ใหม่อีกครั้ง ภายในหนังสือเล่มนี้มีการกล่าวถึงข้อเท็จจริงสำคัญทางประวัติศาสตร์หลายประการ ที่แสดงให้เห็นความจงรักภักดีและความตั้งใจทำงานรับใช้ชาติของนายปรีดี และในตอนท้ายของเล่มยังมีบันทึกการจัดงานรำลึกวันสันติภาพไทยในปีที่ผ่านมา (ปีที่ 74) อีกด้วยด้วย
8
สิงหาคม
2566
77 ปีวันสันติภาพไทย : เตียง ศิริขันธ์ ขบวนการเสรีไทยสกลนคร เนื่องในวาระ 77 ปี วันสันติภาพไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรีชา ธรรมวินทร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ได้มอบผลงานวิจัยเรื่อง “ขบวนการเสรีไทยสกลนคร” ซึ่งตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2547 มาให้เผยแพร่อีกครั้ง โดยปรับปรุงเนื้อหาเล็กน้อย ภายในหนังสือเล่มนี้มีการกล่าวถึงความคิดและผลงานของสมาชิกคนสำคัญของขบวนการเสรีไทย ผู้ดูแลรับผิดชอบงานในพื้นที่จังหวัดสกลนคร อย่างนายเตียง ศิริขันธ์ บทบาทการเคลื่อนไหวของเสรีไทยสกลนครในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
10
สิงหาคม
2564
ชื่อหนังสือ: ๗๖ ปี วันสันติภาพไทย: ๘ ทศวรรษ “พระเจ้าช้างเผือก” สารสันติภาพเหนือกาลเวลา บรรณาธิการ: กษดิศ อนันทนาธร จัดพิมพ์โดย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
21
พฤษภาคม
2564
ผู้เขียน : วาณี พนมยงค์-สายประดิษฐ์, วิษณุ วรัญญู พิมพ์ที่ : เรือนแก้วการพิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ : 1 ปีที่พิมพ์ : 10 ธันวาคม 2535 จำนวนหน้า : 295 หน้า
Subscribe to ประวัติศาสตร์การเมือง