หลวงบรรณกรโกวิท
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
กันยายน
2566
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงว่าตลอดระยะเวลาการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทยเพื่อกอบกู้ชาติ จะพบเห็นการเสียสละและความยากลำบากของผู้ปฏิบัติการ ขณะเดียวกันก็ปรากฏความช่วยเหลือจากมิตรแท้และประชาชนเสมอมา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
สิงหาคม
2565
บรรยากาศ ท่าทีและความรู้สึกของผู้คนในสังคมท่ามกลางบรรยากาศโดยรอบในวันที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มาเยือนสยามประเทศเป็นที่เรียบร้อย เริ่มจากการรุกล้ำอธิปไตยของชาติไทยโดยญี่ปุ่น เหตุการณ์ดังกล่าวนำไปสู่การก่อตั้ง "องค์การต่อต้านญี่ปุ่น" หรือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' พร้อมด้วยภารกิจสำคัญ 2 ประการ เพื่อปลดปล่อยชาติไทยคืนสู่ความเป็นเอกราชอีกครั้ง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2565
"ความเป็นกลาง" ที่นายปรีดีเน้นย้ำก็ได้ถูกถ่ายทอดออกมาเป็นภาพยนตร์ไทยที่มีชื่อว่า "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งประกาศในตอนจบไว้ว่า “ชัยชนะแห่งสันติภาพมิได้มีชื่อเสียงบันลือนามน้อยไปกว่าชัยชนะแห่งสงคราม”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2565
สงครามโลกครั้งที่ ๒ เริ่มเกิดขึ้นในทวีปยุโรปเมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๔๘๒ โดยกองทัพเยอรมันได้บุกเข้าโจมตีโปแลนด์ และได้รับชัยชนะในประเทศภาคพื้นยุโรปอย่างรวดเร็ว จากนั้นได้โจมตีประเทศอังกฤษทางอากาศ เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๔๘๓ และบุกเข้าสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๔๘๔ ขณะนั้นสหรัฐอเมริกายังเป็นกลางอยู่
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
ธันวาคม
2564
ข้าพเจ้าได้ช่วยนายปรีดีรับฟังวิทยุต่างประเทศเพื่อทราบความเคลื่อนไหวของสัมพันธมิตร ข่าวการสู้รบในสมรภูมิต่างๆ ทั่วโลก และบางครั้งข้าพเจ้าก็ช่วยเขียนรหัส ด้วยลายมือโดยไม่ใช้พิมพ์ดีด
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
สิงหาคม
2564
วิญญูชนรุ่นปัจจุบันที่ตั้งอยู่ในอุเบกขาแสวงหาสัจจะ โดยปราศจากอคติสี่ประการคือ ฉันทา, โทสา, ภยา, โมหา ก็ย่อมเข้าใจได้จากรูปธรรมที่ประจักษ์ถึงท่าทีของฝ่ายสัมพันธมิตร
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2564
“ในประเทศนี้ยังมีใครอีกหลายคนที่เขาได้ทำหน้าที่เพื่อประเทศชาติเช่นกัน ถึงแม้จะไม่ได้รับการบันทึกชื่อเอาไว้ในประวัติศาสตร์”
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to หลวงบรรณกรโกวิท
9
สิงหาคม
2564
ระหว่างเดินทางจากตึกคณะรัฐมนตรีกลับบ้านเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ข้าพเจ้ามีความรู้สึกเช่นเดียวกับนายทวี บุณยเกตุและรัฐมนตรีที่ไม่เข้าข้างฝ่ายญี่ปุ่นว่า “กลับบ้านด้วยความรันทดใจเป็นอย่างยิ่ง ชนิดที่เกิดมาในชีวิตไม่เคยมีความรู้สึกเช่นนี้มาก่อนเลย”