ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

องค์การต่อต้านญี่ปุ่น

เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤศจิกายน
2565
พื้นที่จังหวัดตากได้ปรากฏร่องรอยทางประวัติศาสตร์ในการดำเนินงานของขบวนการเสรีไทย ด้วยเหตุฉะนี้จึงนำไปสู่ความพยายามในการสร้างอนุสรณ์แห่งความทรงจำ ได้แก่ "ถนนเสรีไทย" ขึ้น ด้วยความร่วมมือจากหลายภาคส่วนเพื่อเป็นเกียรติแด่เหล่าวีรชนและผู้กล้าทั้งหลายที้มีส่วนในภารกิจกู้ชาติในครานั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
สิงหาคม
2565
เรื่องราวเกร็ดประวัติศาสตร์ซึ่งเกี่ยวข้องกับปฏิบัติการของขบวนการเสรีไทย ผ่านการทำงานที่เต็มไปด้วยความยากลำบากและความท้าทายในทุกๆ สมรภูมิ
บทบาท-ผลงาน
9
สิงหาคม
2564
ระหว่างเดินทางจากตึกคณะรัฐมนตรีกลับบ้านเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ข้าพเจ้ามีความรู้สึกเช่นเดียวกับนายทวี บุณยเกตุและรัฐมนตรีที่ไม่เข้าข้างฝ่ายญี่ปุ่นว่า “กลับบ้านด้วยความรันทดใจเป็นอย่างยิ่ง ชนิดที่เกิดมาในชีวิตไม่เคยมีความรู้สึกเช่นนี้มาก่อนเลย”
ชีวิต-ครอบครัว
2
มกราคม
2564
ครั้งหนึ่งมีคนถามท่านผู้หญิงพูนศุขในรายการโทรทัศน์ว่า ความภาคภูมิใจที่สุดในชีวิตของเธอคืออะไร เธอตอบทันทีว่า “คือความภาคภูมิใจที่ได้อยู่ใกล้คนที่ซื่อสัตย์สุจริต มีความรู้วิชาที่จะรับใช้บ้านเมือง … ไม่ได้ผิดหวังในชีวิตส่วนตัว”
แนวคิด-ปรัชญา
31
สิงหาคม
2563
นายถวิล อุดล (3 พฤศจิกายน 2452 - 4 มีนาคม 2492)  
บทสัมภาษณ์
29
สิงหาคม
2563
เสรีไทยเสรีชน Ep.2: ความสำคัญของขบวนการเสรีไทยในมุมมองของศาสตราจารย์กิตติคุณ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
สิงหาคม
2563
ม.ร.ว.สายสิงห์ ศิริบุตร ธิดาของ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน ซึ่งเป็นเสรีไทยสายอังกฤษคนสำคัญ เล่าถึงบทบาทของสตรีในขบวนการเสรีไทยสายอังกฤษ ตั้งแต่สมเด็จพระนางเจ้ารําไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7, หม่อมเจ้าผ่องผัสมณี จักรพันธุ์, หม่อมเสมอ สวัสดิวัตน ณ อยุธยา, คุณสุภาพ ยศสุนทร, คุณบุปผา บุรี และคุณอนงค์ แต้สุจิ
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2563
“ถ้าปราศจากจํากัด พลางกูร งานขององค์กรใต้ดินครั้งนี้อาจจะล้มเหลว หรือหากสําเร็จ ก็คงเป็นไปในรูปที่ผิดแผกกว่าที่ได้ปรากฏแก่ตาโลกภายหลัง”
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2563
"จารุบุตร เรืองสุวรรณ" เล่าเรื่อง "นิทานเสรีไทย" กล่าวถึงเบื้องหลังการทำงานเสรีไทยของนายปรีดี พนมยงค์ จากตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่การติดต่อกับเสรีไทยในต่างประเทศ การติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตร ไปจนถึงการเจรจาสถานะของประเทศไทยหลังสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
สิงหาคม
2563
บางส่วนจากทัศนะของ Lord Mountbatten ผู้บัญชาการสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่มีต่อนายปรีดี พนมยงค์
Subscribe to องค์การต่อต้านญี่ปุ่น