ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อรุณ เวชสุวรรณ

วันนี้ในอดีต
27
พฤศจิกายน
2567
114 ปี ชาตกาลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล กัลยาณมิตร ของนายปรีดี พนมยงค์บอกเล่าเรื่องราวจากบันทึกความทรงจำและพระจริยาวัฒน์ของเสด็จพระองค์ชายใหญ่ที่มีต่อนายปรีดี พนมยงค์ และครอบครัวปรีดี-พูนศุข
บทสัมภาษณ์
24
กรกฎาคม
2567
บทสัมภาษณ์ประสบการณ์ของ อรุณ เวชสุวรรณ อดีตนักหนังสือพิมพ์ผู้เคยเดินทางไปสัมภาษณ์อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ครั้งเมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ ณ บ้านอองโตนี ประเทศฝรั่งเศส ได้พูดคุยถึงประเด็นต่างๆ มากมายที่มีความเกี่ยวข้องกับอ. ปรีดีฯ
บทบาท-ผลงาน
17
พฤษภาคม
2567
เรื่องราวเกี่ยวกับประสบการณ์การเดินทางไปเยี่ยม ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ฝรั่งเศส โดยคุณอรุณ เวชสุวรรณ ประกอบด้วยบรรยายรายละเอียดต่างๆ ตั้งแต่การเตรียมการเดินทาง บรรยากาศปารีส และการพบปะบุคคลสำคัญของไทย
บทบาท-ผลงาน
5
พฤษภาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศได้เจรจาเรียกร้องเอกราชและดินแดนคืนจากจักรวรรดินิยม เป็นรัฐมนตรีคลังปฏิรูปภาษีอากร จัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทย นำขบวนการเสรีไทยต่อต้านญี่ปุ่น ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และนายกฯ หลังรัฐประหารลี้ภัย เรียกร้องประชาธิปไตย เป็นรัฐบุรุษอาวุโสและนักประชาธิปไตยสำคัญของไทย
บทบาท-ผลงาน
3
พฤษภาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เป็นนักกฎหมายและนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ศึกษาที่ฝรั่งเศสและริเริ่ม “สามัคยานุเคราะห์สมาคม” ก่อนจะเป็นผู้นำคนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไทยสู่ระบอบประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
11
ตุลาคม
2565
"กบฏบวรเดช" เหตุการณ์สำคัญในระยะเปลี่ยนผ่านของการเมืองไทย วิเคราะห์ผ่านการขับเคี่ยวของชุดประวัติศาสตร์ นำไปสู่การตีความที่แตกต่างกัน โดยมีตัวแปรสำคัญคือ อุดมการณ์ทางการเมืองของผู้ถ่ายทอดซึ่งเป็นประจักษ์พยานในเหตุการณ์และนักวิชาการในเวลาต่อมา อีกทั้งนำเสนอเอกสารทางประวัติศาสตร์ คือ เอกสาร "การตรวจสอบโทรเลข" อันปรากฏบทบาทของ 'นายปรีดี พนมยงค์'
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
ตุลาคม
2564
เมื่อก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ฐานะของพระบรมวงศานุวงศ์เป็นที่ยกย่องเทิดทูนอย่างสูงส่ง เนื่องจากท่านเหล่านั้นเป็นเลือดเนื้อเชื้อไขในราชตระกูลผู้ซึ่งเคยปกป้องแผ่นดินไทยมาในบางยุคบางสมัย บุญคุณอันนั้นจึงมีให้คนไทยสำนึกอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ท่านเหล่านั้นทรงเป็นอภิสิทธิ์ชนโดยกำเนิด หากทรงกระทำผิดกฎหมายอะไรขึ้น ก็ไม่ต้องขึ้นศาลธรรมดาแต่ทรงขึ้นศาลของกระทรวงวัง แม้ว่าจะมีความผิดอย่างฉกรรจ์ก็เพียงแต่กักบริเวณ และเอาโซ่ตรวนใส่พานวางไว้หน้าห้องเท่านั้นเอง
บทบาท-ผลงาน
5
มิถุนายน
2563
ข้าพเจ้าได้รับคำขอร้องจากบรรณาธิการบริหารของ ไทยแลนด์ ให้นำภาพของท่านปรีดีที่ถ่ายไว้เมื่อครั้งที่ข้าพเจ้าไปเยี่ยมเยือนท่านที่ประเทศฝรั่งเศส เมื่อพุทธศักราช 2524 เพื่อนำเสนอต่อท่านผู้อ่าน ดังที่ปรากฏอยู่ใน ไทยแลนด์ บางภาพ และพร้อมทั้งเรื่องเกี่ยวกับท่านปรีดีในความคิดคำนึงของข้าพเจ้า ในฐานะผู้ให้ความเคารพท่านปรีดีเยี่ยงวีรบุรุษตลอดมาตั้งแต่ท่านยังมีชีวิตอยู่และแม้ท่านถึงแก่อสัญกรรมไปแล้ว  
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2563
"ทัศนะต่อท่านปรีดีจากมิตรและบุคคลที่รู้จัก" บทความนี้ผู้เขียนได้รวบรวมทัศนะของบุคคุลที่มีความผูกพันและเกี่ยวข้องกับนายปรีดีมารวบรวมไว้ ดังนี้ 1. “สุลักษณ์ ศิวรักษ์” จากปฏิปักษ์สู่กัลยาณมิตร 2. สุภาพสตรีผู้ศรัทธาในตัว ปรีดี พนมยงค์ 3. บทสัมภาษณ์นายปรีดี 'รงค์ - ตะวันใหม่ - อรุณ - ฉัตรทิพย์
Subscribe to อรุณ เวชสุวรรณ