ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อังคณา นีละไพจิตร

เกร็ดประวัติศาสตร์
12
มีนาคม
2567
สมชาย นีละไพจิต เป็นทนายความที่เสียสละ ทุ่มเท เพื่อส่วนรวมอย่างมาก โดยเฉพาะในการทำคดีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับด้านสิทธิมนุษยชนภายใต้นามของ “สภาทนายความ“
แนวคิด-ปรัชญา
30
กันยายน
2566
เรื่องราวและบรรยากาศภายในนิทรรศการ “กลับสู่วันวาน...กลับมากินข้าวด้วยกันนะ” ที่ประกอบไปด้วยมื้ออาหารจานโปรดของผู้ถูกบังคับสูญหาย และเนื้อหาภายในงานเสวนา “เมื่อแตกสลาย… จะกลับคืนสู่สภาพเดิมได้หรือ?” เนื่องในวันผู้สูญหายสากลที่ 30 สิงหาคม 2566 ที่ผ่านมา
แนวคิด-ปรัชญา
30
สิงหาคม
2566
ข้อเสนอ ข้อสังเกต และบทบาทอาเซียนในการเสริมสร้างสันติภาพในเมียนมา รวมไปถึงบทบาทของรัฐบาลไทย จากคำถามของผู้ฟังและผู้รับชมการถ่ายทอดสด และตอบโดยวิทยากรร่วมเสวนา
แนวคิด-ปรัชญา
27
สิงหาคม
2566
บทบาทของผู้หญิงสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาความไม่เท่าเทียมและเสมอภาคกัน ไม่ใช่แค่เพียงแต่ปัญหาเรื่องประชาธิปไตยเท่านั้น หากแต่ยังรวมไปถึงปัญหาเรื่องความไม่เท่าเทียมทางเพศ การเลือกปฏิบัติ ตลอดจนการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นร้ายแรง
แนวคิด-ปรัชญา
12
มีนาคม
2566
19 ปี การบังคับสูญหาย สมชาย นีละไพจิตร กับการเดินทางของ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงในระบบยุติธรรมและสังคมที่รอวันมาถึง
แนวคิด-ปรัชญา
30
สิงหาคม
2565
วันที่ 30-31 สิงหาคมของทุกปี เป็นวันที่ทั่วโลกถือเป็น วันแห่งการรำลึกถึงเหยื่อของการบังคับสูญหายสากล (International Day of Enforced or Involuntary Disappearances)
แนวคิด-ปรัชญา
12
มีนาคม
2565
วันนี้ครบรอบ 18 ปีเต็ม ที่การถูกบังคับให้สูญหายยังไม่ได้ถูกรับการแก้ไขหรือเกิดความรับผิดชอบใดๆ ก็ตามจากรัฐไทย จนถึงวันนี้ 18 ปี แต่กลับมีจำนวนบุคคลที่ถูกบังคับให้สูญหายเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และยังไม่มีทีท่าว่าจะเกิดเป็นรายสุดท้าย หรือ ได้พบ "ร่าง" ของบุคคลเหล่านั้น
แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2564
PRIDI Talks #13 รำลึก 45 ปี 6 ตุลาฯ “จากทุ่งสังหารถึงสำนักงานตั๋วช้าง” ตำรวจ-ทหาร กองทัพของราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
15
ตุลาคม
2564
ในทางวิทยาศาสตร์เราบอกว่า วัสดุอะไร จะต้องไม่สูญหายไปจากโลกนี้ ไม่สามารถหายไปได้ แต่จริงๆ แล้วสิ่งที่เกิดขึ้น การที่คนคนหนึ่งถูกบังคับให้หายไป
แนวคิด-ปรัชญา
14
ตุลาคม
2564
สังคมของคนรุ่นใหม่นั้น ได้สนใจอดีต สนใจบาดแผล สนใจสาเหตุในอดีต เขาก็นำเอาข้อเท็จจริงเหล่านี้ออกมาขับเคลื่อน ผลักดันเพื่อให้เกิดการรับรู้ ยอมรับ เพื่อจะไม่ให้เกิดขึ้นอีก
Subscribe to อังคณา นีละไพจิตร