อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
เมษายน
2565
บทความชิ้นนี้มีหมุดหมายเพื่อนำเสนอพัฒนาการแนวคิดความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และการปรับปรุงระบบภาษีอากรเพื่อราษฎรของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม[1] ก่อนการร่างพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรพุทธศักราช 2481 ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์สำคัญได้แก่ นิติสาส์น ฉบับปฐมฤกษ์ บันทึกการประชุมคณะกรรมการราษฎร และเค้าโครงการเศรษฐกิจ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มกราคม
2565
ต้นแบบการทำงานของอิสสระ
อิสสระ มีนายปรีดี พนมยงค์ (คุณลุง) เป็นต้นแบบในการทำงาน ในการเป็นผู้ประพฤติธรรม เป็นหัวหน้าครอบครัวที่ดี เป็นนักประชาธิปไตย เป็นนักวิชาการด้านกฎหมายมหาชนที่มองการณ์ไกล มีความสามารถ รอบรู้ มีความซื่อสัตย์สุจริต อุทิศตนและทำประโยชน์ให้แก่ประเทศ
ข่าวสาร
10
มกราคม
2565
ชีวิตอิสสระ เกร็ดประวัติศาสตร์ ผ่านชีวิตและงานของ ศาสตราจารย์พิเศษ อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กุมภาพันธ์
2564
ศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ ซึ่งเพิ่งจากโลกนี้ไปเมื่อวันที่ 16 มกราคม ที่ผ่านมานั้น นอกจากเป็นหลานลุงของนายปรีดี พนมยงค์ และเป็นอดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญแล้ว ยังเป็นนักกฎหมายมหาชนคนสำคัญอีกคนหนึ่งของประเทศไทย
ข่าวสาร
21
มกราคม
2564
มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ เป็นเจ้าภาพร่วมพิธีสวดพระอภิธรรมศพ ศ.ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ วันพุธที่ 20 มกราคม 2564
ข่าวสาร
16
มกราคม
2564
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ขอแสดงความเสียใจต่อการจากไปของศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ ในวันที่ 16 มกราคม 2564 ด้วยวัย 88 ปี (4 ตุลาคม 2475 - 16 มกราคม 2564)
นายอิสสระเป็นบุตรชายของพระนิติทัณฑ์ประภาศ (สนอง สุจริต) กับนางชวนชื่น นิติทัณฑ์ประภาศ ผู้เป็นน้องสาวร่วมบิดา-มารดาของนายปรีดี พนมยงค์
นายอิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ สำเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จากนั้นไปศึกษาต่อที่ประเทศฝรั่งเศส โดยได้ Diplome d'Etudes Superieures de Droit Public และ Docteur ed droit จากมหาวิทยาลัยกอง (Universite de Caen)
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ
2
มิถุนายน
2563
คำนำ
ผลงานของท่านปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ที่เป็นรูปธรรมและเป็นประโยชน์ต่อชาติบ้านเมืองนั้นมีมากมาย และมีผู้เขียนเผยแพร่ไว้มาก แต่ผลงานของท่านเกี่ยวกับการริเริ่มเสริมสร้างอำนาจทางการคลังของรัฐสภา ซึ่งเป็นผลดีต่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย ยังไม่มีใครเขียนมาก่อน เนื่องจากเป็นผลงานที่อยู่ในมุมอับ คือเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเทคนิคการคลังและกฎหมายการคลัง ซึ่งโดยธรรมชาติเป็นเรื่องที่คนทั่วไปเข้าใจยากและเข้าไม่ถึง