อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
4
ตุลาคม
2567
ศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ เสนอข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการช่วยเหลือทหารที่ปลดประจำการ ในรัฐบาลนายปรีดี พนมยงค์กับ การนำเสนอร่างพระราชบัญญัติอนุญาตให้รัฐบาลจ่ายเงินไปพลางก่อน พุทธศักราช 2489 ต่อสภาผู้แทนราษฎร
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
16
มกราคม
2567
เนื่องในโอกาสครบรอบวันอนิจกรรมของ ศาสตราจารย์พิเศษ อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ นักวิชาการผู้วางรากฐานให้แก่กฎหมายมหาชนในประเทศไทย ขอเชิญชวนอ่านบทความทางกฎหมายจากผลงานทางวิชาการที่มีคุณูปการต่อวงการนิติศาสตร์ไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
8
มกราคม
2567
เงินคงคลังในอดีตที่เน้นการสะสมไว้ใช้ในระยะยาว ได้เปลี่ยนไปในสมัยปัจจุบันให้เป็นการมีเงินคงคลังเพื่อความสมดุลในการใช้จ่ายของรอยต่อระหว่างปี ดังนั้นในการใช้งบประมาณประจำปีที่บางครั้งอาจมีข้อติดขัด รัฐบาลจึงสามารถใช้เงินคงคลังที่มีอยู่มาแก้ข้อติดขัดหรือเสริมสภาพคล่องการใช้จ่ายของรัฐบาลได้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
พฤศจิกายน
2566
คัดสรรงานชิ้นสำคัญเพื่อรำลึกถึงประวัติชีวิต ประสบการณ์ และฝีไม้ลายมือการประพันธ์ของคุณระวิ ฤกษ์จำนง ที่ทรงคุณค่าโดยเฉพาะต่อผู้ที่สนใจประวัติศาสตร์ไทยและร่วมรุ่นในโรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
ตุลาคม
2566
วิเคราะห์และวิพากษ์ให้เห็นถึงปัญหาของการจัดทำงบฯ สส. นี้ นับตั้งแต่แนวคิดที่ขัดกับหลักการงบประมาณแผ่นดินอย่างไร ผลเสีย ไปจนถึงเสนอแนวทางแก้ไขโดยมิจำเป็นต้องพึ่งพางบประมาณส่วนนี้ในการจัดสรรให้กับท้องถิ่น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
กรกฎาคม
2566
การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในประเด็นสมาชิกภาพของสภาผู้แทนราษฎรของนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์นี้ จะเป็นสิ่งที่พิสูจน์ให้สังคมได้ประจักษ์ว่า ศาลรัฐธรรมนูญแท้จริงแล้วคือองค์กรที่ถูกสร้างเพื่อพิทักษ์ประชาธิปไตยหรือแท้จริงแล้วเป็นเพียงองค์กรที่จะนำสังคมไปสู่ทางตัน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มกราคม
2566
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ เขียนถึงการทำงานของ 'ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ' ในด้านกฎหมายงบประมาณและการคลัง โดยนำเสนอผ่านผลงาน ศ.ดร.อิสสระ ที่ได้สร้างไว้เมื่อครั้งมีชีวิตอยู่ ซึ่งสะท้อนการวิพากษ์วิจารณ์และการคานอำนาจของการเมืองในระบอบประชาธิปไตย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
ตุลาคม
2565
เรื่องราวเบื้องหลังการทำงานของ 'ศาสตราจารย์พิเศษ อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ' อันเป็นแนวทางที่ได้รับอิทธิพลจาก 'นายปรีดี พนมยงค์' ผู้เป็นลุง โดยยึดถือนายปรีดีเป็นต้นแบบในการปฏิบัติงานและดำเนินชีวิตส่วนตัว นับตั้งแต่เรื่องการศึกษา การสร้างครอบครัว ตลอดจนการทำงานเพื่อผลประโยชน์ของชาติ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ตุลาคม
2565
การพัฒนาความรู้กฎหมายมหาชนในประเทศไทย (พ.ศ. 2515 - 2550)
ดร.อิสสระมุ่งมั่นที่จะให้ความรู้แก่นิสิต นักศึกษา เพื่อพัฒนากฎหมายมหาชนในประเทศไทย แม้ว่าภารกิจราชการที่สำนักงบประมาณจะหนัก แต่ ดร.อิสสระก็ได้สละเวลาพักผ่อนส่วนตัวไปเป็นอาจารย์พิเศษและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่มหาวิทยาลัยหลายแห่ง ตั้งแต่ปี 2515 จนกระทั่งในปี 2550 ที่ร่างกายไม่เอื้ออำนวยให้ทำงานได้ ทั้งนี้ ในปี 2515 กฎหมายมหาชนยังเป็นเรื่องใหม่มาก และการเรียนการสอนสาขากฎหมายมหาชนยังมีจำกัดในประเทศไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ
19
เมษายน
2565
สำหรับตอนที่ 2 นั้น ผู้เขียนได้นำเสนอถึงช่วงเวลาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ที่ได้มีการนำเสนอ "ร่างประมวลรัษฎากรฉบับแรกของสยามประเทศ" ในที่ประชุมสภานั้น 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' ได้มอบหมายให้ 'ดิเรก ชัยนาม' เป็นผู้อ่านหลักการและเหตุผลของร่างพระราชบัญญัติฯ แห่งประมวลรัษฎากร จำนวน 16 ข้อ