ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เกษียร เตชะพีระ

แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2566
งานวิจัยดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ เรื่อง “เสรีนิยมธรรมราชา: พลวัตแห่งอำนาจระหว่างสถาบันกษัตริย์กับสถาบันแนวประชาธิปไตยในโครงการจำกัดเสียงข้างมาก (พ.ศ. 2540-2560)” โดย อ.ปฤณ เทพนรินทร์ กล่าวถึงลักษณะสำคัญใหม่ของฟากฝั่งอนุรักษนิยมไทยที่ปรับเปลี่ยนตนเองอย่างมีพลวัต
แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ผู้เขียนย้อนกลับไปดูถึงการขยับ-เคลื่อนไปของรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย นับตั้งแต่จากมุมมองของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้จากปาฐกถาครบรอบ 50 ปีประชาธิปไตย จนกระทั่งในความหมายของประชาธิปไตยต่อการรัฐประหารครั้ง 19 กันยายน 2549 นี้
แนวคิด-ปรัชญา
2
สิงหาคม
2566
นับตั้งแต่รัฐประหารเมื่อ 2557 หรือเกือบทศวรรษที่ผ่านมานี้ชี้ให้เห็นว่ายิ่งผู้มีอำนาจหรือรัฐบาลพยายามกดปราบข้อเรียกร้องของประชาชนมากเท่าใด แนวโน้มข้อเรียกร้องเหล่านั้นก็จะมีความแหลมคมมากขึ้นเท่านั้น
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2566
จิ๊กซอว์หนึ่งของชัยชนะในระยะยาวที่เด็ดขาด คือ (1) ประชาชนต้องกลับมาศรัทธาเชื่อมั่นในระบบรัฐสภาให้ได้ (2) เราต้องทำให้ชนะการเลือกตั้ง พรรคที่ได้อันดับ 1 ต้องชนะโดยการไม่ซื้อเสียงให้ได้ (3) ผู้แทนราษฎรในสภาต้องกลับไปเป็นผู้แทนราษฎรที่ทรงเกียรติแบบที่อยู่ในประวัติศาสตร์ให้ได้ และ (4) ต้องชนะความคิดให้ได้
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
ตุลาคม
2565
ราว 5 ปีก่อนเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 ที่ถูกวิจารณ์ว่ามีกระบวนการร่างฯ เพื่อรักษาอำนาจให้แก่รัฐบาลของ จอมพล ถนอม กิตติขจร เป็นหลัก
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2565
ความคิดเรื่องกรรมกรของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ และนโยบายต่อกรรมกรของคณะราษฎร ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงกันมากนัก เช่นน้อยคนที่จะทราบว่า ปรีดีเป็นผู้สนับสนุนให้มีวันกรรมกร ขึ้น ครั้งหนึ่งยังเคยมอบหมายให้ หม่อมเจ้าสกลวรรณกร วรวรรณ ไปแสดงสุนทรพจน์เนื่องในวันกรรมกร[1]
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มิถุนายน
2564
แม้รัชกาลที่ 7 จะมีการรับสั่งให้ร่างรัฐธรรมนูญ ที่ยังคงมีเนื้อหาที่มุ่งไปสู่การเอื้ออำนวยให้เกิดความชอบธรรมแก่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่แก้ไขใหม่เท่านั้น ในแง่นี้การมีรัฐธรรมนูญจึงไม่เท่ากับการมีประชาธิปไตยด้วย นี่จึงเป็นหนึ่งในบรรดาเหตุผลที่คณะราษฎรเลือกที่จะทำการอภิวัฒน์เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤศจิกายน
2563
เกษียร เตชะพีระ ทบทวนบริบทแห่งการสร้างความคิดทางการเมืองของนายปรีดีว่ามาจาก (1) ระบอบล่าอาณานิคม (2) ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และ (3) ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ในห้วงเวลานั้น
แนวคิด-ปรัชญา
13
ตุลาคม
2563
เมื่อ 20 ปีก่อน ในช่วง 100 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ (พ.ศ. 2543) ศาสตราจารย์ ดร.เกษียร เตชะพีระ อ่านบทความ "จงพิทักษ์เจตนารมณ์ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของวีรชน 14 ตุลาคม" ของปรีดี พนมยงค์ แล้วตั้งข้อสังเกตที่น่าสนใจไว้หลายประการ
แนวคิด-ปรัชญา
19
มิถุนายน
2563
ในวาระครบรอบ 60 ปี แห่งการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย ไทย ผมใคร่จะถือโอกาสนี้เขียนถึง ฯพณฯ รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ผู้เป็นมันสมองของคณะราษฎรในการอภิวัฒน์ครั้งนั้น 
Subscribe to เกษียร เตชะพีระ