ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เขมภัทร ทฤษฎิคุณ

แนวคิด-ปรัชญา
3
ธันวาคม
2567
Focus บทความนี้เสนอภาพรวมของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย ในช่วงเดือนพฤษภาคมปี 2567 และวิเคราะห์จาก World Economic Forum (WEF) ที่ได้ประกาศการจัดระดับโลกด้านการพัฒนาการท่องเที่ยว (Travel & Tourism Development Index 2024 : TTDI) โดยเสนอให้เห็นการวัดผลลัพธ์เชิงนโยบายที่ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวจากประเทศต่าง ๆ จำนวน 119 ประเทศ เปรียบเทียบกับประเทศไทย สรุปจากสถิติพบว่าลำดับการท่องเที่ยวของประเทศไทยลดลงมา 6 ลำดับ จากเดิมที่ได้ลำดับที่ 41 เมื่อเปรียบเทียบจากข้อมูลในปี 2562 และในระดับโลกประเทศไท
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤศจิกายน
2567
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ เสนอปัญหาความรุนแรงทางเพศในสังคมไทยที่เกิดขึ้นกับสตรีและเด็กผู้หญิงจากกฎหมายที่เขียนและใช้โดยชายทั้งโดยเสนอให้กลับไปใช้ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับแก้ไขครั้งที่ 19 ที่มีความชอบธรรมต่อทุกเพศ
แนวคิด-ปรัชญา
2
พฤศจิกายน
2567
สาระสำคัญของกฎหมายสมรสเท่าเทียม หรือ พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 24) พ.ศ. 2567 ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับความเสมอภาคทางเพศฉบับแรกของไทย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
27
กันยายน
2567
วิมานหนาม ภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับความขัดแย้งภายในครอบครัวของการแย่งชิงที่ดินสวนทุเรียน แต่ภายใต้ความขัดแย้งนี้กลับสะท้อนถึงความไม่เท่าเทียมยุติธรรมทางสังคม เช่น พื้นที่อยู่อาศัย วัฒนธรรม เพศ และสถานะทางเศรษฐกิจ ที่ไม่ว่าใครก็ตามก็ได้รับความเจ็บปวดจากหนามทั้งนั้น
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
สิงหาคม
2567
ในวาระ 92 ปีการอภิวัฒน์สยาม ได้มีการสร้างละครเวทีเรื่อง Before 2475 ของคนรุ่นใหม่โดยมีเนื้อหาย้อนกลับไปสู่ก่อนการอภิวัฒน์ตั้งแต่การก่อตั้งคณะราษฎร ช่วง พ.ศ. 2468-2469 ของคณะผู้ก่อการทั้ง 7 คน
แนวคิด-ปรัชญา
23
สิงหาคม
2567
ถอดบทเรียนการเลือก สว. ปี 2567 ที่มีการเปลี่ยนแปลงระบบการเลือก สว. ใหม่ หากผลลัพธ์กลับทำให้ขาดความหลากหลาย และขาดความชอบธรรม ไม่เป็นไปตามลักษณะการเลือกตั้งที่ทำให้ สว. มาจากประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2567
บทความนี้เสนอหลักการของนิติธรรม (Rule of law) ผ่านการประเมินตามดัชนีหลักนิติธรรม (Rule of law index) พ.ศ. 2565 จากจำนวน 142 ประเทศ โดยประเทศไทยมีคะแนนต่ำกว่าค่าเฉลี่ย และชี้ให้เห็นกรณีศึกษาจากสถิติข้อมูลผู้ต้องขังทั่วไปและคดีการเมือง พ.ศ. 2563-2567
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
มิถุนายน
2567
ความเปลี่ยนแปลงเชิงวัฒนธรรมกับการทำสัญญะของระบอบการปกครองใหม่ เสนอมิติทางวัฒนธรรมหลังการอภิวัฒน์สยามผ่านงานวันชาติและรัฐพิธีฉลองรัฐธรรมนูญ และสัญญะของระบอบการปกครองใหม่ผ่านศิลปะ-สถาปัตยกรรม และการสร้างความหมายของราษฎร
บทบาท-ผลงาน
28
พฤษภาคม
2567
การเปิดเสรีทางการค้าในสยามช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ทำให้การปลูกข้าวเพื่อการค้าขยายตัว แต่ชาวนายังคงยากจนเนื่องจากขาดการปฏิรูปโครงสร้างที่ดิน เทคนิคการผลิต และระบบภาษี ผลประโยชน์ตกอยู่กับนายทุนและขุนนางมากกว่า
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2567
พระราชพิธีพืชมงคลและจรดพระนังคัลแรกนาขวัญถูกปรับเปลี่ยนรูปแบบและความหมายตามนาฏกรรมของรัฐในแต่ละยุค บางช่วงเน้นประชาชน บางช่วงใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง สะท้อนการเปลี่ยนแปลงบทบาทและความสำคัญของพระราชพิธีในสังคมไทย
Subscribe to เขมภัทร ทฤษฎิคุณ