ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เขมภัทร ทฤษฎิคุณ

แนวคิด-ปรัชญา
9
มีนาคม
2565
สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจและในบทความนี้ที่ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ'ได้หยิบยกมา คือ สังคมปัจจุบันนี้ไม่ได้ก้าวพ้นในสิ่งที่อาจารย์ป๋วยได้เคยพูดเสมือนถูกแช่แข็งเอาไว้ และในแง่นี้คำพูดของอาจารย์ป๋วยจึงยังคงอยู่กับสังคมมากกว่าปณิธานของอาจารย์ที่ได้แสดงไว้
แนวคิด-ปรัชญา
28
กุมภาพันธ์
2565
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' จะพาเราไปรู้จักกันว่า "ข้อมูลส่วนบุคคลคืออะไร" "ทำไมข้อมูลส่วนบุคคลจึงกลายเป็นสิ่งมีค่า" ทำความเข้าใจกับ "กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลกับการกำกับดูแลการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล" และ ธุรกิจกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นต้น
แนวคิด-ปรัชญา
24
กุมภาพันธ์
2565
โครงการสร้างคลองเชื่อมระหว่างทะเลอันดามันกับอ่าวไทยนั้นยังคงเป็นโครงการขนาดใหญ่ที่ถูกพูดถึงอยู่ทุกสมัยตลอดเวลา และอาจจะถูกพูดถึงอีกตลอดไปเรื่อยๆ ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
21
กุมภาพันธ์
2565
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' จะมาพิจารณาในแง่ของความเป็นมา และผลประโยชน์ในทางเศรษฐกิจของคลองทั้งสอง และคลองสุเอซกับปัญหาต่างๆ รวมถึงการเข้ามาเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ของอังกฤษ และ ผลประโยชน์ของคลองสุเอซในปัจจุบัน เป็นต้น
แนวคิด-ปรัชญา
15
กุมภาพันธ์
2565
  ปรีดีกับการขุดคลอง การริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับการขุดคลองคอดกระของปรีดี เริ่มต้นขึ้นในปี พ.ศ. 2478 ในรัฐบาลของ พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา (ตำแหน่งในขณะนั้น) หลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือ นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้รื้อฟื้นและเสนอแผนการในการขุดคลองบริเวณคอคอดกระเพื่อบรรเทาผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลกภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1  อย่างไรก็ดี รัฐบาลในเวลานั้นขาดแคลนงบประมาณทำให้โครงการดังกล่าวไม่ได้ถูกริเริ่มขึ้นในเวลานั้น[1]
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2565
โครงการขุดคลองเชื่อมทะเลอันดามันกับอ่าวไทยเป็นโครงการขนาดใหญ่โครงการหนึ่งที่ถูกพูดถึงในทุกยุคสมัยตลอดหน้าประวัติศาสตร์ไทยที่ผ่านมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
1
กุมภาพันธ์
2565
เมื่อรัฐบาลส่วนใหญ่ได้เข้ามาดำรงตำแหน่งบริหารประเทศ สิ่งหนึ่งที่รัฐบาลหลีกเลี่ยงไม่ได้เลยคือ การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไขราคาสินค้าแพงเนื่องจากปัญหาสินค้าขาดแคลน ซึ่งในอดีตประเทศไทยก็เคยประสบปัญหากับราคาหมูแพงในช่วงที่รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
24
มกราคม
2565
“เค้าโครงการเศรษฐกิจ” ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากในช่วงต้นว่าเป็นการนำแนวคิดแบบคอมมิวนิสต์โซเวียตมาใช้ในประเทศไทย  แต่ทว่าเมื่อพิจารณารายละเอียดของเนื้อหาในเค้าโครงการเศรษฐกิจหลายๆ หัวข้อประกอบกับคำชี้แจงแล้วจะเห็นได้ว่า เค้าโครงการเศรษฐกิจนั้น มิได้เป็นคอมมิวนิสต์ แต่ประกอบไปด้วยแนวคิดทางเศรษฐกิจจากหลายๆ สำนัก ในทางกลับกัน แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติของ 'จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์' ที่ถูกนำมาใช้ในเวลาต่อมาในประเทศไทยนั้น กลับไม่ได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ในลักษณะเดียวกัน โดยเฉพาะเมื่อย้อนกลับไปพิจารณาในบริบทของการเกิดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่ง ‘รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ’
แนวคิด-ปรัชญา
10
มกราคม
2565
ในรัฐสมัยใหม่นั้นรัฐธรรมนูญมีความสำคัญใน 2 ฐานะ ประการแรก รัฐธรรมนูญทำหน้าที่เป็นตราสารกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐทั้งสาม ประการที่สอง รัฐธรรมนูญทำหน้าที่เป็นตราสารกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
5
มกราคม
2565
“สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเป็นรัฐประชาธิปไตยและเป็นสังคมรัฐ” (Die Bundesrepublik Deutschland ist ein demokratischer und sozialer Bundesstaat.)
Subscribe to เขมภัทร ทฤษฎิคุณ