ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เขมภัทร ทฤษฎิคุณ

เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กันยายน
2564
ย้อนกลับไปในช่วงก่อน 6 ตุลาคม 2519 นอกเหนือไปจากขบวนการนิสิต-นักศึกษาแล้ว กลุ่มบุคคลอีกกลุ่มหนึ่งที่มีความสำคัญก็คือ “กลุ่มผู้ใช้แรงงาน” ในนามของ สภาแรงงานแห่งประเทศไทย
แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2564
เมื่อคณะราษฎรเข้ามาบริหารประเทศก็ได้กำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจสำคัญตามหลัก 6 ประการ ที่ได้ประกาศไว้ ทำให้เศรษฐกิจเปลี่ยนเป็นอุตสาหกรรมมากขึ้น ก็เกิดชนชั้นกลางในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งในส่วนนี้ก็คือเศรษฐกิจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
13
กันยายน
2564
บทความนี้จะพาคุณไปรู้จักว่า "ทุนนิยมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคืออะไร" "มีพัฒนาการอย่างไร" และมีทิศทางอย่างไรที่จะส่งผลต่อไปยังสังคมที่ดีได้
แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2564
ทุกข์ของชาวนานั้นเป็นสิ่งที่ประจักษ์ชัดในสังคมไทย และเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
20
สิงหาคม
2564
ช่วงเดือนสิงหาคมจนถึงกันยายนนั้นเป็นช่วงเทศกาลพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ซึ่งต้องตราให้แล้วเสร็จก่อนวันที่ 1 ตุลาคมของทุกปีอันเป็นวันเริ่มต้นปีงบประมาณ
บทบาท-ผลงาน
1
สิงหาคม
2564
เหตุแห่งการทำ “สนธิสัญญาเบาว์ริง” นั้นเป็นจุดเปลี่ยนของสยามในหลายลักษณะ ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และระบบราชการของประเทศ โดยหนึ่งในเรื่องที่มีความสำคัญเรื่องหนึ่งก็คือ “การเสียเอกราชทางการศาล”
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
กรกฎาคม
2564
“สนธิสัญญาเบาว์ริง” หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ “หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษแลประเทศสยาม” ซึ่งจัดทำขึ้นระหว่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ ซึ่งคนไทยมักจะเรียกว่าอังกฤษกับประเทศไทยหรือสยามในเวลานั้น
แนวคิด-ปรัชญา
26
กรกฎาคม
2564
“สนธิสัญญาเบาว์ริง” เป็นเครื่องมือสำคัญในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจสยามเข้ากับโลกเศรษฐกิจของยุโรป
บทบาท-ผลงาน
20
กรกฎาคม
2564
เรื่องราวความรักของ 'มณีจันทร์' หญิงสาวผู้ที่สามารถวิ่งทะลุกาลเวลาผ่านกระจกบานใหญ่กลับไปยังรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5)
แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2564
เมื่อสยามเริ่มเรียนรู้วิทยาการจากโลกตะวันตกในช่วง “การปฏิรูปประเทศ” สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งหลายวิทยาการที่นำเข้ามาจากโลกตะวันตกได้รับความนิยมชมชอบจากชนชั้นนำของสยามในเวลานั้น
Subscribe to เขมภัทร ทฤษฎิคุณ