ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เทียนวรรณ

แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2565
ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ ภาวะตาสว่างเกิดขึ้นจากการเข้าถึงองค์ความรู้ และการสานต่ออุดมการณ์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2564
‘ก.ศ.ร. กุหลาบ’ และ ‘เทียนวรรณ’ เป็นบุคคลร่วมสมัยที่เกิดในรัชกาลที่ 3 และเติบโตในขณะที่อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกกำลังแพร่สะพัดอยู่ในสังคมระดับสูง ถึงแม้ว่าบุคคลทั้งสองจะมิได้มีตำแหน่งหน้าที่ในทางราชการก็ตาม
แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2564
จุดเริ่มต้นแห่งการก่อเกิดประชาธิปไตยนั้น ได้เริ่มก่อตัวขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ถูกส่งต่อมาเรื่อยๆ จนถึงรัชสมัยของรัชกาลที่ 7 โดยมีทั้งชนชั้นสูงอย่างเจ้าขุนมูลนาย และ ราษฎรไทย
แนวคิด-ปรัชญา
11
พฤษภาคม
2564
กระแสธารแห่งการเปลี่ยนแปลงไหลเชี่ยวกรากยิ่งในช่วงทศวรรษ ๒๔๖๐ และ ๒๔๗๐ เริ่มตั้งแต่การล่มสลายลงของจักรวรรดิรัสเซีย พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ ๒ แห่งราชวงศ์โรมานอฟถูกโค่นล้ม
บทสัมภาษณ์
3
พฤษภาคม
2564
ครั้งแรกกับท่านปรีดี และ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่ปารีสประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2513 (1970) กับ ครั้งสุดท้ายในบางกอก สยามประเทศ (ไทย) พ.ศ. 2544 (2001)
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
พฤศจิกายน
2563
ชีวิตของปรีดีระหว่างเรียนหนังสือในวัยเยาว์ดูเหมือนไม่ค่อยเป็นที่รับทราบกว้างขวางเท่าไหร่ แต่ก็ใช่ว่าจะปราศจากความน่าค้นหาเสียเลย มิหนำซ้ำ ยังชวนให้ถวิลเห็นแง่มุมใหม่ ๆ ที่ผู้ศึกษาชีวประวัติของปรีดีอาจไม่รู้สึกมักคุ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ตุลาคม
2563
ในวาระ 110 ปีแห่งการสวรรคตของรัชกาลที่ 5 ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ถอดบทเรียนการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัย จากยุคของรัชกาลที่ 5 มาจนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
ตุลาคม
2563
ในปี 2515 นายปรีดี พนมยงค์ ได้ฟื้นความหลังถึงแบบเรียนภาษาไทยจากหนังสือ มูลบทบรรพกิจ ที่พระยาศรีสุนทรโวหารจัดทำขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
ตุลาคม
2563
การที่ปรีดีหวนรำลึกถึง ก.ศ.ร. กุหลาบ และเทียนวรรณ โดยเอ่ยขานผ่านข้อเขียนของตน ก็เพื่อจงใจเน้นย้ำให้คนรุ่นใหม่หันมาเล็งเห็นบทบาทของคนธรรมดาสามัญ
Subscribe to เทียนวรรณ