ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เผด็จการ

แนวคิด-ปรัชญา
11
ตุลาคม
2566
ความหมายและความเข้าใจถึงคำว่า “เผด็จการ” ที่ปรากฏใช้ในสังคมไทยและทั่วโลกมีที่มา ความหมาย อย่างไรในเชิงนิรุกติศาสตร์หรือตามความหมายและการใช้คำที่ผันแปรไปตามสังคม พื้นที่/เวลา และรูปแบบของผู้ปกครองและระบอบที่ใช้ปกครอง
แนวคิด-ปรัชญา
7
ตุลาคม
2566
การต่อต้านเผด็จการนั้นไม่ใช่เพียงการต่อสู้ทางกายภาพเท่านั้น หากแต่ยังเป็นการต่อสู้ทางความคิดและจิตวิญญาณด้วย ฝ่ายต่อต้านจึงต้องรู้จักฝ่ายเผด็จการอย่างถ่องแท้ทั้งในด้านดีและด้านร้าย
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2566
ประเทศไทยยังคงวนเวียนกับวงจรและกับดักของเผด็จการจากรัฐประหาร แต่การเลือกตั้งก็ยังคงเป็นกิจกรรมสำคัญของประชาชนที่ขาดไม่ได้ตลอดมา ในฐานะเจ้าของสิทธิอันชอบธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย สิ่งสำคัญหนึ่งในการปกป้องระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยเอาไว้ให้ได้ ก็คือ การรักษาความชอบธรรมทางการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2566
คำกล่าวประโยคหนึ่งที่ว่า “ประวัติศาสตร์สอนให้เรารู้ว่า เราไม่เรียนรู้อะไรจากประวัติศาสตร์เลย” จริงหรือไม่ คำอภิปรายต่อไปนี้เป็นการตอบคำถามดังกล่าว ที่แฝงไว้ด้วยความประสงค์ให้คนไทยพึงเรียนรู้สาระสำคัญของประวัติศาสตร์การเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
5
กรกฎาคม
2566
สื่อมวลชนสำคัญต่อการพัฒนาประชาธิปไตยตลอดมา แม้สมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ก็เกิดขึ้นภายใต้การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความคิดเห็นด้านประชาธิปไตยในแง่มุมต่างๆ ที่หนังสือพิมพ์และสื่อสิ่งพิมพ์ของนักเขียนในสมัยก่อนหน้าและในขณะนั้น นำเสนอให้ชาวสยามได้รับทราบ
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็นดุลยภาพแห่งอำนาจ พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม
บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2566
ย้อนรอยความเป็นมาของหมุดก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญผ่านหลักฐานชิ้นใหม่ เพื่อทบทวนจุดเริ่มต้นของการริเริ่มให้สร้าง การออกแบบ และองค์กรที่เกี่ยวข้องในการจัดสร้าง ก่อนที่โลหะแผ่นนี้จะกลายเป็นที่จดจำในฐานะอนุสรณ์ทางการเมืองเพื่อระลึกถึงห้วงเวลาสำคัญแห่งการอภิวัฒน์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึงการต่อสู้ทางการเมืองด้วย "การอดอาหาร" (Hunger Strike) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายทางอุดมการณ์เพื่อตอบสนองแก่ข้อเรียกร้องจนนำไปสู่การหาทางออกของสังคม ผ่านกรณีความเคลื่อนไหวทางการเมืองในต่างประเทศ และ ไทยโดย 'ฉลาด วรฉัตร' อดีตนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่สามารถสร้างแรงกระเพื่อมให้แก่สังคมบนหน้าประวัติศาสตร์เหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2565
รากฐานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่ได้รับการขนานนามว่า "รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน" โดยถือกำเนิดขึ้นด้วยผลสืบเนื่องจากฉันทามติของประชาชนในสังคมเพื่อแก้ระบบและกลไกการเมืองที่เคยถูกแทรกแซงโดยกองทัพ
Subscribe to เผด็จการ