ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

โภคิน พลกุล

บทสัมภาษณ์
2
พฤษภาคม
2566
ยงจิตต์ สุนทร-วิจารณ์, ผุดผาดน้อย วรวุฒิ, ประสิทธิ์ ผ่องเภสัช และ จิ่งทง ลิขิตชลธาร ร่วมย้อนวันวานถึงนายปรีดี พนมยงค์ เนื่องในวาระ 40 ปีแห่งการอสัญกรรม
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ตุลาคม
2565
การพัฒนาความรู้กฎหมายมหาชนในประเทศไทย (พ.ศ. 2515 - 2550) ดร.อิสสระมุ่งมั่นที่จะให้ความรู้แก่นิสิต นักศึกษา เพื่อพัฒนากฎหมายมหาชนในประเทศไทย แม้ว่าภารกิจราชการที่สำนักงบประมาณจะหนัก แต่ ดร.อิสสระก็ได้สละเวลาพักผ่อนส่วนตัวไปเป็นอาจารย์พิเศษและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่มหาวิทยาลัยหลายแห่ง ตั้งแต่ปี 2515 จนกระทั่งในปี 2550 ที่ร่างกายไม่เอื้ออำนวยให้ทำงานได้ ทั้งนี้ ในปี 2515 กฎหมายมหาชนยังเป็นเรื่องใหม่มาก และการเรียนการสอนสาขากฎหมายมหาชนยังมีจำกัดในประเทศไทย  
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2565
โภคิน พลกุล รัฐสวัสดิการ คือ สิทธิของประชาชน PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มกราคม
2565
ต้นแบบการทำงานของอิสสระ  อิสสระ มีนายปรีดี พนมยงค์ (คุณลุง) เป็นต้นแบบในการทำงาน ในการเป็นผู้ประพฤติธรรม เป็นหัวหน้าครอบครัวที่ดี เป็นนักประชาธิปไตย เป็นนักวิชาการด้านกฎหมายมหาชนที่มองการณ์ไกล มีความสามารถ รอบรู้ มีความซื่อสัตย์สุจริต อุทิศตนและทำประโยชน์ให้แก่ประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
3
กรกฎาคม
2564
ตั้งแต่ยุคท่านปรีดี ปัญหาใหญ่ของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้นก็คือไม่มีความเท่าเทียมกันของผู้คนในทางกฎหมาย
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2564
ปัญหาการแพร่ระบาดของ COVID-19 รวมทั้งปัญหาวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจนั้น ได้ทำให้ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในวันนี้วิทยากรทั้งหลายที่จะมาร่วมเสวนาก็จะได้ร่วมกันมองว่า “เราจะฝ่าวิกฤตนี้ไปได้อย่างไร”
25
มิถุนายน
2564
สรุปประเด็นสำคัญจาก PRIDI Talks #11 “89 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม: สวัสดิการและบทบาทของรัฐในการสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจแก่ประชาชน”
บทบาท-ผลงาน
19
พฤศจิกายน
2563
ท่านปรีดีเห็นถึงความจําเป็นที่ต้องมีศาลปกครองแยกจากศาลยุติธรรมด้วย ดังปรากฏในข้อความเบื้องต้นของคําอธิบายกฎหมายปกครอง
บทบาท-ผลงาน
18
พฤศจิกายน
2563
หากจะกล่าวว่า ท่านปรีดีผู้วางรากฐานการศึกษากฎหมายปกครองและการจัดตั้งศาลปกครองของไทย ก็คงจะไม่เกินความเป็นจริง
Subscribe to โภคิน พลกุล