6 ตุลา 2519
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
สิงหาคม
2567
สัมผัส พึ่งประดิษฐ์ เล่าประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยนับตั้งแต่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 จนถึงเหตุการณ์ที่นักศึกษาเคลื่อนไหวเกี่ยวกับขบวนการสันติภาพหรือต่อมาคือกบฏสันติภาพในปี 2495 มาจนถึงเหตุการ 6 ตุลา 2519 และชี้ว่าตนได้รับการสืบต่อแนวคิดประชาธิปไตยมาจากนายปรีดี พนมยงค์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กรกฎาคม
2567
บทความนี้ศึกษาพัฒนาการองค์ความรู้เกี่ยวกับสันติวิธีและความไม่รุนแรงทางการเมืองไทยของศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ในทศวรรษ 2510-2550 โดยผลของความรุนแรงทางการเมืองไทยภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 คือต้นธารที่ก่อให้เกิดองค์กรด้านสิทธิมนุษยชนและสันติวิธี
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มีนาคม
2567
ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ท่านเป็นผู้ที่มีเชี่ยวชาญทางด้านเศรษฐศาสตร์ อีกทั้งยังได้ดำรงตำแหน่งทีสำคัญในหน่วยงานต่างๆ เช่น กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง, ธนาคารแห่งชาติ รวมถึงตำแหน่งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤศจิกายน
2566
นิทรรศการ “๕๐ ปี ๑๔ ตุลา ศิลปะจักสำแดง” ด้วยการร่วมมือกันของมูลนิธิ 14 ตุลาและมูลนิธิเด็ก บอกเล่าการเมืองและเรื่องราวของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 รวมไปถึงงานเสวนาและผลงานที่จัดแสดงบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ข่าวสาร
6
ตุลาคม
2566
วันนี้ (6 ตุลาคม 2566) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จัดงานรำลึก 47 ปี 6 ตุลาฯ 2519 ประจำปี 2566 บริเวณสวนประติมากรรมประวัติศาสตร์ "ธรรมศาสตร์กับการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย"
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
6
ตุลาคม
2566
ศ.ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ กล่าวถึงเหตุการณ์ 6 ตุลาคม และปรากฏการณ์การเคลื่อนไหวผ่านการมองประวัติศาสตร์ช่วงยาวทั้งในบริบทสังคมไทยที่เกิดขึ้นและเชื่อมกับบริบทสังคมโลกเพื่อสะท้อนให้เห็นถึงปรากฏการณ์ของขบวนการนักศึกษาที่เกิดขึ้น
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
13
ตุลาคม
2565
การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยต้องทำอย่างไรเพื่อส่งต่ออุดมการณ์ให้คนรุ่นใหม่ปฏิบัติการได้สำเร็จ คือ โจทย์ที่เป็นหัวใจสำคัญของการเคลื่อนไหวในแต่ละก้าวของคนรุ่นต่อรุ่นและ ศิลปะ ยังคงทำหน้าที่เป็นส่วนประสานผ่านหลายแขนงอย่างเข้มแข็งตลอดมา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2565
เมื่อเข้าสู่ช่วงเดือนตุลาคม เหตุการณ์สำคัญที่จะต้องหยิบมาพูดถึงคือ เหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม และ 6 ตุลาคม ซึ่งเป็นเหตุการณ์สำคัญในหน้าการเมืองไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเลวร้ายที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ทั้งสอง ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของการลอยนวลพ้นผิดที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งการลอยนวลพ้นผิดนี้สร้างบาดแผลให้กับสังคมไทยในหลายๆ ด้าน ทั้งก่อให้เกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรม อีกทั้งยังถ่างช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้กว้างขึ้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
ตุลาคม
2565
เดือนตุลาคมของไทยทุกปี มักถูกจดจำทั้งในฐานะเดือนแห่งชัยชนะของประชาธิปไตย โดยมีเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 อันเป็นการขับไล่ระบอบเผด็จการทหารเป็นจุดอ้างอิง ขณะเดียวกันก็มักเป็นเดือนแห่งความทรงจำว่าด้วยการก่ออาชญากรรมโดยรัฐ โดยมีเหตุการณ์สังหารหมู่นักศึกษาและประชาชน ในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 เป็นสิ่งที่ให้หวนระลึกถึง
ข่าวสาร • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to 6 ตุลา 2519
8
ตุลาคม
2565
เสวนา PINTO TALK 8 : 46 ปี 6 ตุลา 19 ในมุมมองของคนรุ่นใหม่ “เหลียวหลัง 6 ตุลา แลหน้าสังคมไทย” พร้อมกันนี้ ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล ชวนคุย ชวนคิด ในหัวข้อ “A Reflection on the Moment of Silence”