ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

6 ตุลา 2519

แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2565
เมื่อเข้าสู่ช่วงเดือนตุลาคม เหตุการณ์สำคัญที่จะต้องหยิบมาพูดถึงคือ เหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม และ 6 ตุลาคม ซึ่งเป็นเหตุการณ์สำคัญในหน้าการเมืองไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเลวร้ายที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ทั้งสอง ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของการลอยนวลพ้นผิดที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งการลอยนวลพ้นผิดนี้สร้างบาดแผลให้กับสังคมไทยในหลายๆ ด้าน ทั้งก่อให้เกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรม อีกทั้งยังถ่างช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้กว้างขึ้น  
แนวคิด-ปรัชญา
10
ตุลาคม
2565
เดือนตุลาคมของไทยทุกปี มักถูกจดจำทั้งในฐานะเดือนแห่งชัยชนะของประชาธิปไตย โดยมีเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 อันเป็นการขับไล่ระบอบเผด็จการทหารเป็นจุดอ้างอิง ขณะเดียวกันก็มักเป็นเดือนแห่งความทรงจำว่าด้วยการก่ออาชญากรรมโดยรัฐ โดยมีเหตุการณ์สังหารหมู่นักศึกษาและประชาชน ในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 เป็นสิ่งที่ให้หวนระลึกถึง 
แนวคิด-ปรัชญา
8
ตุลาคม
2565
เสวนา PINTO TALK 8 : 46 ปี 6 ตุลา 19 ในมุมมองของคนรุ่นใหม่ “เหลียวหลัง 6 ตุลา แลหน้าสังคมไทย” พร้อมกันนี้ ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล ชวนคุย ชวนคิด ในหัวข้อ “A Reflection on the Moment of Silence”
6
ตุลาคม
2565
นายปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ ผู้แทนประธานมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ และ รองศาสตราจารย์ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ประธานกรรมการสถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้เข้าร่วมในพิธีและร่วมวางหรีดรำลึก พร้อมด้วยองค์กรภาคประชาสังคม รวมถึงพรรคการเมืองต่างๆ
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2565
'ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ผู้ที่ศรัทธาในความยุติธรรม เชื่อมั่นในความเท่าเทียม เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และปรารถนาที่จะเห็นโลกแห่งประชาธิปไตยที่สมบูรณ์พร้อมด้วยสันติประชาธรรม ตลอดจนมรดกทางความคิดที่ป๋วยได้สร้างไว้ขณะมีชีวิต คือ อุดมการณ์ที่ส่งต่อเพื่อจุดประกายให้แก่คนรุ่นหลังตลอดมา
แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2564
PRIDI Talks #13 รำลึก 45 ปี 6 ตุลาฯ “จากทุ่งสังหารถึงสำนักงานตั๋วช้าง” ตำรวจ-ทหาร กองทัพของราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2564
การเคลื่อนไหวต่อสู้ระบบศักดินาเพื่อนำไปสู่ประชาธิปไตย จำเป็นไหมที่จะต้องใช้สันติวิธีหรือไม่ใช้สันติวิธี
แนวคิด-ปรัชญา
15
ตุลาคม
2564
ในทางวิทยาศาสตร์เราบอกว่า วัสดุอะไร จะต้องไม่สูญหายไปจากโลกนี้ ไม่สามารถหายไปได้ แต่จริงๆ แล้วสิ่งที่เกิดขึ้น การที่คนคนหนึ่งถูกบังคับให้หายไป
แนวคิด-ปรัชญา
14
ตุลาคม
2564
สังคมของคนรุ่นใหม่นั้น ได้สนใจอดีต สนใจบาดแผล สนใจสาเหตุในอดีต เขาก็นำเอาข้อเท็จจริงเหล่านี้ออกมาขับเคลื่อน ผลักดันเพื่อให้เกิดการรับรู้ ยอมรับ เพื่อจะไม่ให้เกิดขึ้นอีก
แนวคิด-ปรัชญา
13
ตุลาคม
2564
กระบวนการยุติธรรมทางอาญาควรจะเข้าไปจัดการกับความต่างทางการเมืองหรือไม่? แล้วถ้ามันมีส่วนที่ควรต้องเข้าไปแล้ว ขอบเขตที่เหมาะสมควรเป็นอย่างไร?
Subscribe to 6 ตุลา 2519