ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

80 ปีวันสันติภาพไทย

เกร็ดประวัติศาสตร์
22
กรกฎาคม
2568
บทบาทของ ป. อินทรปาลิต ในนามผู้บันทึกวิวัฒนาการของสังคมไทยผ่านนิยายชุด พล นิกร กิมหงวน ที่ดำเนินเรื่องต่อเนื่องกว่า 30 ปี ผลงานของเขามิได้เป็นเพียงความบันเทิง แต่ยังบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์ตั้งแต่ก่อนสงคราม ระหว่างสงคราม และจบสงครามโลกครั้งที่ 2
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2568
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 รัชกาลที่ 8 เสด็จนิวัตพระนครตามที่รัฐบาลภายใต้การนำของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้กราบบังคมทูลอัญเชิญ ท่ามกลางความปรีดาปราโมทย์อย่างสุดซึ้งของพสกนิกรชาวไทย ซึ่งใฝ่ฝันเฝ้ารอรุ่งอรุณแห่งวันใหม่ด้วยจิตใจอันแจ่มใสเบิกบาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กรกฎาคม
2568
ศาสตราจารย์ ดร.กนต์ธีร์ ศุภมงคล ได้ติดตาม ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช กลับถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2488 และเสนีย์ได้เข้าดํารงตําแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีในรุ่งขึ้นวันที่ 17 กันยายนเป็นต้นไป โดยมีภารกิจแรกคือการแต่งตั้งคณะผู้แทนไทยเพื่อไปเจรจาเลิกสถานะสงครามกับอังกฤษที่แคนดี
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2568
วิเคราะห์ท่าทีของอังกฤษต่อประเทศไทยช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเน้นความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์เชิงยุทธศาสตร์กับหลักเอกราชของชาติไทย เปิดเผยเบื้องหลังทางการทูตและการเจรจาลับระหว่างอังกฤษ สหรัฐฯ และไทย ที่หล่อหลอมอนาคตประเทศไทยหลังสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
เมษายน
2568
สถานการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตึงเครียดมากขึ้น ในขณะเดียวกันรัฐบาลหลวงพิบูลสงครามมีความต้องการที่จะเรียกร้องดินแดนที่ไทยเคยสูญเสียให้แก่ฝรั่งเศสกลับคืนมาโดยเฉพาะฝั่งขวาของแม่น้ำโขง
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
เมษายน
2568
ศ. ดร. กนต์ธีร์ ศุภมงคล อธิบายถึงยุทธศาสตร์ “วิเทโศบายของไทย” ในช่วงวิกฤตการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ต้องการรักษาสันติภาพและความเป็นกลาง ตลอดจนการรักษาอธิปไตยของประเทศ ไม่ให้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจนกระทบต่อเอกราช
แนวคิด-ปรัชญา
25
เมษายน
2568
ศ. ดร.กนต์ธีร์ ศุภมงคล อธิบายถึงการเกิดขึ้นของสงครามโลกครั้งที่สองโดยเน้นไปที่การก่อสงครามขยายตัวของญี่ปุ่นอันเป็นผลมาจากปัจจัยทางสังคม และ เศรษฐกิจ รวมไปถึงการเปิดฉากโจมตีสหรัฐอเมริกาและเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตร
บทบาท-ผลงาน
23
เมษายน
2568
ไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อเรียกคืนอธิปไตยจากชาติตะวันตก ซึ่งส่งกองทหารอาสาไปร่วมรบและฝึกในยุโรป แม้บางหน่วยจะไม่ได้ร่วมรบจริง ส่งผลให้ไทยได้ยกเลิกสนธิสัญญาไม่เสมอภาค และฟื้นฟูเอกราชทางกฎหมายและเศรษฐกิจ
Subscribe to 80 ปีวันสันติภาพไทย