ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ขบวนการเสรีไทย

ชีวิต-ครอบครัว
18
กุมภาพันธ์
2567
ปลายเดินทางเพื่อที่จะหาความรู้และประสบการณ์ จากการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่สำคัญ และต้องพบกับการตัดสินใจครั้งใหญ่ที่มีความยากลำบาก
9
กุมภาพันธ์
2567
มูลนิธิ - สถาบันปรีดี พนมยงค์ เข้าร่วมโครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเกี่ยวกับขบวนการเสรีไทยและการรำลึกขบวนการเสรีไทย ประจำปี 2567 ณ ห้องประชุม ดร.สมสักดิ์ และคุณหญิงปัทมา สีสวัสดิ์ตระกูล (NIDA)
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2567
เนื่องในวาระครบรอบ 119 ปี ชาตกาล 'ศาสตราจารย์ดิเรก ชัยนาม' จึงจะขอนำเสนอผลงานและแนวคิดสำคัญในแต่ละช่วงชีวิตดังต่อไปนี้ และไม่ค่อยมีการกล่าวถึงมาก่อน อาทิ ข้อเสนอระงับกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในรายงานการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 6 วันที่ 14 ตุลาคม พุทธศักราช 2489 บทบาทในการก่อตั้งคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และดำรงตำแหน่งคณบดีคนแรก พ.ศ. 2492 และปาฐกถาพุทธศาสนากับการปกครอง พ.ศ. 2499
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
ธันวาคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ร้อยเรียงเรื่องราวขยายภาพความสัมพันธ์ของปาล พนมยงค์ที่มีต่อมิตรสหายอย่าง ‘เยื้อน พานิชวิทย์’ และ 'สัมผัส พึ่งประดิษฐ์' จากบันทึกทางประวัติศาสตร์และบทสัมภาษณ์กับสัมผัส พึ่งประดิษฐ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ธันวาคม
2566
เนื่องในวาระชาตกาล 114 ปี ‘เตียง ศิริขันธ์’ อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ย้อนพาผู้อ่านกลับไปหาเรื่องราวก่อนจะมาเป็นสมาชิกผู้แทนราษฎร ผ่านเรื่องราวสมัยเรียนอักษรศาสตร์ การเป็นครู และถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์จากเรื่องราวของนางงาม
23
พฤศจิกายน
2566
18 พฤศจิกายน 2566 ที่ผ่านมา มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ และ สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้จัดกิจกรรมในโครงการสนับสนุนการศึกษาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์เสรีไทยและเสวนาสัญจร จังหวัดแพร่ โดยจัดขึ้นที่พิพิธภัณฑ์เสรีไทย แพร่
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤศจิกายน
2566
กล่าวขานถึงขบวนการเสรีไทยสายแพร่ ผู้มีบทบาทสำคัญในหน้าประวัติศาสตร์เอกราชของไทย แต่มิได้ถูกจดจำและบันทึกไว้อย่างแพร่หลายนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2566
เรื่องราวอัตชีวประวัติของท่านเมื่อครั้นท่านยังเยาว์วัย บุคลิก นิสัย และวีรกรรมเมื่อสมัยเป็นนักเรียนอังกฤษ ก่อนที่ท่านจะรับการชักชวนเป็นสมาชิกคณะราษฎร ร่วมปฏิบัติภารกิจกู้ชาติในฐานะสมาชิกเสรีไทย และกลายเป็นนายกรัฐมนตรีลำดับที่ 5 แม้จะเป็นเพียง 17 วัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
ตุลาคม
2566
เรื่องราวความเป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์ของจำกัด พลางกูร นับตั้งแต่อิทธิพลที่ส่งผลต่อความเป็นนักเขียนนักหนังสือพิมพ์ ความสัมพันธ์ระหว่างนักเขียนสำคัญกับจำกัด ความคิดความสนใจต่อประเด็นทางสังคม ผลงานชิ้นสำคัญ
Subscribe to ขบวนการเสรีไทย