Skip to main content

ข่าวสาร

ในวาระ 93 ปี อภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 สถาบันปรีดี พนมยงค์จัดงานเสวนาทางวิชาการในหัวข้อ “เอกราษฎร์ และอธิปไตย ยุคประชาธิปไตย 2475 ถูกท้าทาย” เพื่อเป็นการรำลึกถึงคุณูปการของการอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 เหตุการณ์ที่นำมาสู่การริเริ่มการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย
วันที่ 24 มิถุนายน 2568 ทายาทสมาชิกคณะราษฎรร่วมทำบุญให้แก่บรรพบุรุษ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพมหานคร เนื่องในวันครบรอบ 93 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม หรือเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญประชาธิปไตย
ค่ำวานนี้ (14 มิถุนายน 2568) มูลนิธิ - สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพในงานสวดพระอภิธรรมศพ คุณวิระ โอสถานนท์ (ม.ว.ม, ป.ช) บุตรชายนายวิลาศ โอสถานนท์ อดีตสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนและประธานพฤฒสภาคนแรก

บทความ

19
Jul
2568
สุชาติ สวัสดิ์ศรีชี้ให้เห็นบทบาทของ กุหลาบ สายประดิษฐ์ ในฐานะนักหนังสือพิมพ์ที่มุ่งมั่นเผยแพร่แนวคิดประชาธิปไตย มนุษยภาพ และสันติภาพ ผ่านข้อเขียนการเมืองกว่า 3 ทศวรรษ ทั้งยังกล่าวถึงผู้อยู่เบื้องหลังการจัดพิมพ์ อาทิ ชนิด สายประดิษฐ์ สุภา ศิริมานนท์ ยศ วัชรเสถียร คำสิงห์ ศรีนอก ตลอดจนกลุ่มนักวิชาการที่ร่วมฟื้นฟูบทบาทของเขาในประวัติศาสตร์
17
Jul
2568
ชำแหละภาพลักษณ์ “ความสง่างาม” ของผู้พิพากษาไทยที่ซ่อนอคติและความไร้ภราดรภาพไว้เบื้องหลัง ผ่านกรณีการปฏิเสธผู้สมัครสอบที่พิการจากโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง สะท้อนให้เห็นว่าสถาบันตุลาการยังขาดความเข้าใจในหลักสิทธิมนุษยชน และใช้กติกาที่ไม่เท่าเทียมตัดโอกาสของมนุษย์อย่างไม่เป็นธรรม
บทความสะท้อนความรักและความผูกพันอันลึกซึ้งระหว่างวาณี พนมยงค์ กับสุรพันธ์ สายประดิษฐ์ ที่แม้จะมิใช่แฝดแท้ แต่ก็ร่วมชีวิต ฝ่าฟันการลี้ภัย การเมือง และเวลาร่วมกันกว่า 36 ปี เรื่องเล่าจากความทรงจำนี้เผยให้เห็นความเหมือนและต่างของทั้งสอง โดยมีฉากหลังคือการเมืองไทยยุคเปลี่ยนผ่าน และความหมายของชีวิตคู่ที่ผูกโยงด้วยอุดมการณ์เสรีภาพและประชาธิปไตย
ปรีดี พนมยงค์ เขียนสดุดีหลวงสังวรยุทธกิจ นายทหารเรือผู้ร่วมอภิวัฒน์ 2475 และขบวนการเสรีไทยอย่างกล้าหาญ และเสียสละ บทความบันทึกบทบาทของหลวงสังวรฯ ในภารกิจลับหลายด้าน รวมถึงการช่วยเหลือสัมพันธมิตร การคุ้มครองพลร่ม และการส่งอาวุธช่วยเวียดนาม
ศักดิชัย บำรุงพงศ์ เจ้าของนามปากกา "เสนีย์ เสาวพงศ์" เขียนรำลึกคราวหลังครั้งเป็น "เสรีไทย" ที่ทำงานกับนายทหารสัมพันธมิตรอังกฤษ และ "ท่านชิ้น" ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน
วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 รัชกาลที่ 8 เสด็จนิวัตพระนครตามที่รัฐบาลภายใต้การนำของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ได้กราบบังคมทูลอัญเชิญ ท่ามกลางความปรีดาปราโมทย์อย่างสุดซึ้งของพสกนิกรชาวไทย ซึ่งใฝ่ฝันเฝ้ารอรุ่งอรุณแห่งวันใหม่ด้วยจิตใจอันแจ่มใสเบิกบาน
เส้นทางความรักระหว่าง สวง ทรัพย์สำรวย (ล้อต้อก) และ สมจิตต์ โตประภัสว์ นางงามประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่นายปรีดี พนมยงค์ ได้กลายเป็นบุคคลที่มีบทบาทในะผู้ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับของทั้งสองท่าน
บทความถ่ายทอดตำนาน “นาฬิกาปารีส” ลูกตุ้มบนตึกโดมธรรมศาสตร์ ตั้งแต่การรับเป็นของขวัญ การติดตั้ง การดูแลรักษา “เจ้าลูกตุ้ม” จึงเป็นทั้งนาฬิกา แต่เป็นพยานแห่งกาลเวลา ที่ยังยืนหยัดแม้เผชิญสงครามและความเปลี่ยนแปลง
ศาสตราจารย์ ดร.กนต์ธีร์ ศุภมงคล ได้ติดตาม ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช กลับถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2488 และเสนีย์ได้เข้าดํารงตําแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีในรุ่งขึ้นวันที่ 17 กันยายนเป็นต้นไป โดยมีภารกิจแรกคือการแต่งตั้งคณะผู้แทนไทยเพื่อไปเจรจาเลิกสถานะสงครามกับอังกฤษที่แคนดี
ปราโมทย์ พึ่งสุนทร มีบทบาทสำคัญในขบวนการเสรีไทย โดยรับหน้าที่ประจำกองบัญชาการเสรีไทยและมีภารกิจดูแลการต้อนรับนายทหารสัมพันธมิตร เช่น โฮวาร์ด พาลเมอร์ รวมถึงทำงานร่วมกับบุคคลสำคัญ เช่น หลวงสังวรยุทธกิจ (สังวร สุวรรณชีพ) และพันโทสำเริง เนตรายน เพื่อดูแลความปลอดภัยและข่าวกรองในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2

หนังสือขายดี

ผู้เขียน : ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
พิมพ์ครั้งที่่ 1 : มิถุนายน 2564

สันติสุข โสภณสิริ บรรณาธิการ
240 หน้า
ราคา 195 บาท

เนื่องในวาระ 81 ปี พระเจ้าช้างเผือก
ชุด พระเจ้าช้างเผือก 200 บาท
+ DVD พระเจ้าช้างเผือก

หนังสือแนะนำ

หนังสือหายาก

ความเป็นอนิจจังของสังคม
เหลือ 12 เล่ม

แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์
เหลือ 5 เล่ม

ประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดย ปรีดี พนมยงค์
เหลือ 10 เล่ม