ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กฎหมาย

แนวคิด-ปรัชญา
2
มิถุนายน
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ กล่าวถึงความหมายและขอบเขตของเสรีภาพตามหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นๆ รวมทั้งวิพากษ์วิจารณ์ข้อบกพร่องของกฎหมายบางฉบับที่ละเมิดเสรีภาพของประชาชน และเสนอแนวทางในการกำหนดขอบเขตเสรีภาพที่เหมาะสม
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2567
ประวัติศาสตร์วุฒิสภาไทยสะท้อนการต่อสู้ระหว่างอำนาจนิยมและเสียงประชาชน ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนวิเคราะห์บทเรียนจากอดีตเพื่อหาแนวทางปฏิรูปสู่ประชาธิปไตยแท้โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างแท้จริง
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2567
นโยบายแรงงานคณะราษฎรให้ความสำคัญกับสวัสดิการแรงงาน โดยปรีดี พนมยงค์ริเริ่มพระราชบัญญัติจัดตั้งสำนักงานจัดหางาน พ.ศ. 2475 เพื่อคุ้มครองแรงงานและนายจ้าง วางรากฐานกฎหมายแรงงานไทย
บทบาท-ผลงาน
31
มีนาคม
2567
ปาฐกถา นี้รายงานถึงผลงานของรัฐบาลในช่วง 2 ปีหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ทั้งด้านกฎหมาย ความมั่นคง เศรษฐกิจ สิทธิเสรีภาพ และการศึกษา พร้อมเรียกร้องให้ประชาชนช่วยกันรักษารัฐธรรมนูญ เพื่อนำพาประเทศไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง
แนวคิด-ปรัชญา
12
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้นำเสนอถึงปัจจัยที่ส่งผลให้คนจนก่ออาชญากรรมและถูกพบเห็นมากกว่าคนรวย ในขณะเดียวกันคนรวยทำอย่างไรจึงก่ออาชญากรรมได้โดยไม่ถูกนับเป็นอาชญากรรม
แนวคิด-ปรัชญา
8
กันยายน
2566
PRIDI’s Law Lecture วันนี้เสนอความเห็นที่มีต่อลักษณะกิจของฝ่ายปกครองถึงความสมควรและขอบเขตการงานในการปกครอง โดยมีสองทัศนะที่แตกต่างกันในจุดมุ่งหมายของการปกครอง รัฐที่เป็นแบบตำรวจ และ รัฐที่เป็นผู้สงเคราะห์
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2566
ชวนผู้อ่านศึกษาถึงส่วนขยายของการกระทำที่เกิดขึ้นเฉพาะบุคคลหรือเฉพาะรายๆ ไปของผู้มีอำนาจบริหาร อำนาจธุรการ หรือเจ้าพนักงานปกครอง ซึ่งไม่ได้เป็นข้อบังคับที่ใช้โดยทั่วไป แต่พิจารณาเป็นเรื่องๆ
แนวคิด-ปรัชญา
13
กรกฎาคม
2566
เมื่อพิจารณาถึงกฎหมายที่มีการบังคับใช้ในปัจจุบัน มีกฎหมายหลายฉบับด้วยกันที่สร้างภาระให้กับภาคประชาชน ซึ่งกฎหมายเหล่านี้ ไม่ได้สร้างภาระให้กับประชาชนฝ่ายเดียว แต่ยังสร้างภาระให้กับหน่วยงานของรัฐด้วย รัฐบาลที่กำลังจะมีการจัดตั้งใหม่จึงสมควรจะยกเลิกกฎหมายที่เป็นอุปสรรคเหล่านี้โดยเร็ว
แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2566
ในประเทศที่อาณาเขตกว้างขวางและมีประชากรพลเมืองอยู่มากในการบริหารราชการส่วนกลางอาจมิได้ตอบโจทย์เสียงทั้งหมด เนื่องจากกิจการบางประการพลเมืองอาจมีส่วนได้ประโยชน์เหมือนกัน หรือกิจการบางประการพลเมืองก็อาจมีส่วนได้ประโยชน์ที่แตกต่างกัน ฉะนั้นเพื่อให้ทั่วถึง ครอบคลุม และเหมาะสมแก่พลเมืองในทุกๆ พื้นที่ การกระจายอำนาจจึงเป็นสิ่งสำคัญ
แนวคิด-ปรัชญา
5
มิถุนายน
2566
ทบทวนนิยามของ "รัฐบาล" โดยพิจารณาจากความหมายอย่างกว้างและแคบ รัฐบาลจะพึงมีกี่ชนิดนั้นอาจแยกพิจารณาตามความหมายของรัฐบาลนั้นเอง คือสุดแต่จะพิจารณาตามความหมายอย่างกว้าง, อย่างแคบ, หรือตามความหมายในทางเศรษฐกิจ
Subscribe to กฎหมาย