กบฏบวรเดช
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2564
จนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 การจัดการร่างกายที่ปราศจากลมหายใจด้วยวิธีการเผาในเมรุ ก็ถูกนำมาใช้กับราษฎรด้วยเหตุผลทางสุขอนามัยและการสร้างคุณค่าใหม่
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
กรกฎาคม
2564
ภารกิจในการสร้างรัฐเวชกรรม ตามเป้าประสงค์ตั้งต้นของคณะราษฎร ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบตั้งแต่แรก
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2564
ตัวอย่างรูปธรรม เช่น ในรัฐธรรมนูญ 2475 กำหนดให้ “พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปโดยกำเนิด หรือโดยแต่งตั้งก็ตาม ย่อมดำรงอยู่ในฐานะเหนือการเมือง” ด้วยเหตุดังกล่าวทำให้การใช้อำนาจใดๆ ขององค์พระมหากษัตริย์จะต้องมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น
บทความ
15
ธันวาคม
2563
ผมเองอยากเสนอว่าให้เรียกยุคสมัย 2476 ถึง 2490 ว่าเป็น 'Regency Era' หรือยุคสมัยแห่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ 15 ปี หลาย ๆ คนอาจจะนึกถึงเรื่องราวต่าง ๆ แต่สำหรับผมแล้วก็จะมีตัวละครที่โดดเด่น ก็คือ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หลาย ๆ ท่าน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
ธันวาคม
2563
ปฐมรัฐธรรมนูญฉบับนี้นั้นเป็นรัฐธรรมนูญที่อาจารย์ปรีดีได้ร่างขึ้นด้วยตนเอง รัฐธรรมนูญได้บรรจุไว้ซึ่งความคิดและความใฝ่ฝันของนักกฎหมายหนุ่มคนหนึ่งในขณะนั้น
บทความ • บทสัมภาษณ์
Subscribe to กบฏบวรเดช
22
กรกฎาคม
2563
ในปี 2527 กองบรรณาธิการมติมหาราษฎร์ได้สัมภาษณ์ ม.ร.ว.เสนีย์ ในหลายประเด็น ทั้งการชิงสุกก่อนห่ามของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ความเห็นต่อเค้าโครงการเศรษฐกิจ การเกิดกบฏบวรเดช การทำงานขบวนการเสรีไทย เกร็ดเรื่องการได้รับเชิญจากนายปรีดีให้มาเป็นนายกรัฐมนตรี กรณีสวรรคต รวมถึงความขัดแย้งกับนักการเมืองคนสำคัญของพรรคประชาธิปัตย์ อย่างนายควง อภัยวงศ์ และ ม.ร.ว.เสนีย์ เอง