ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กบฏบวรเดช

ชีวิต-ครอบครัว
14
พฤศจิกายน
2564
เดือนมีนาคม พ.ศ. 2475 นายปรีดี พนมยงค์ ตัดสินใจเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจในชื่อ "พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร" หรือเรียกขานกันว่า "สมุดปกเหลือง"
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
พฤศจิกายน
2564
ในที่สุด กลุ่มนายทหารนอกประจำการนำโดย ผิน ชุณหะวัณ กาจ กาจสงคราม เผ่า ศรียานนท์ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ถนอม กิตติขจร ประภาส จารุเสถียร ก็ทำรัฐประหารเป็นผลสำเร็จ ยกเลิกรัฐธรรมนูญ 2489 ที่มความเป็นประชาธิปไตยอย่างมาก และประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
ตุลาคม
2564
เมื่อก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ฐานะของพระบรมวงศานุวงศ์เป็นที่ยกย่องเทิดทูนอย่างสูงส่ง เนื่องจากท่านเหล่านั้นเป็นเลือดเนื้อเชื้อไขในราชตระกูลผู้ซึ่งเคยปกป้องแผ่นดินไทยมาในบางยุคบางสมัย บุญคุณอันนั้นจึงมีให้คนไทยสำนึกอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ท่านเหล่านั้นทรงเป็นอภิสิทธิ์ชนโดยกำเนิด หากทรงกระทำผิดกฎหมายอะไรขึ้น ก็ไม่ต้องขึ้นศาลธรรมดาแต่ทรงขึ้นศาลของกระทรวงวัง แม้ว่าจะมีความผิดอย่างฉกรรจ์ก็เพียงแต่กักบริเวณ และเอาโซ่ตรวนใส่พานวางไว้หน้าห้องเท่านั้นเอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
ตุลาคม
2564
อนุสาวรีย์คอนกรีตสูงประมาณ 4 เมตร ที่ตั้งอยู่บริเวณวงเวียนหลักสี่ หายไปอย่างไร้ร่องรอยเมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2561
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2564
หลังจากที่ท่านปรีดีฯ ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๗๖ แล้ว แต่ยังไม่ทันที่จะได้รับความไว้วางใจจากสภาผู้แทนตามรัฐธรรมนูญ ก็ได้เกิดการขบถขึ้นภายในราชอาณาจักร เมื่อ ๑๑ ตุลาคม ปีเดียวกัน ขบถครั้งนี้มี พลเอกพระองค์เจ้าบวรเดชกฤษดากร เป็นหัวหน้า ใช้ชื่อคณะในการขบถครั้งนี้ว่า “คณะกู้บ้านเมือง” แต่ชาวบ้านเรียกกันทั่วๆ ไปว่า “ขบถบวรเดช”
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2564
“กบฏบวรเดช” เป็นเรื่องที่สืบเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่างระบอบเก่าและระบอบใหม่ จากข้อโต้แย้งในเรื่องเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จากข้อกล่าวหาคอมมิวนิสต์ จากการทำรัฐประหาร 20 มิถุนายน 2476 และที่สำคัญที่สุดคือข้อโต้แย้งในเรื่องพระเกียรติยศและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบใหม่ 
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2564
จนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 การจัดการร่างกายที่ปราศจากลมหายใจด้วยวิธีการเผาในเมรุ ก็ถูกนำมาใช้กับราษฎรด้วยเหตุผลทางสุขอนามัยและการสร้างคุณค่าใหม่
แนวคิด-ปรัชญา
9
กรกฎาคม
2564
ภารกิจในการสร้างรัฐเวชกรรม ตามเป้าประสงค์ตั้งต้นของคณะราษฎร ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบตั้งแต่แรก
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2564
ตัวอย่างรูปธรรม เช่น ในรัฐธรรมนูญ 2475 กำหนดให้ “พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปโดยกำเนิด หรือโดยแต่งตั้งก็ตาม ย่อมดำรงอยู่ในฐานะเหนือการเมือง” ด้วยเหตุดังกล่าวทำให้การใช้อำนาจใดๆ ขององค์พระมหากษัตริย์จะต้องมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น
Subscribe to กบฏบวรเดช