ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กบฏสันติภาพ

ชีวิต-ครอบครัว
3
มกราคม
2568
รายการชีวิตกับงานสัมภาษณ์ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เผยแพร่ในวาระการอภิวัฒน์สยามเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2538 โดยสัมภาษณ์ทั้งประวัติชีวิตส่วนตัวของท่านผู้หญิงพูนศุขและส่วนที่เกี่ยวข้องกับนายปรีดี พนมยงค์ และการเมืองไทย
วันนี้ในอดีต
11
พฤศจิกายน
2567
ประวัติชีวิต บทบาท และการทำงานเพื่อสังคมของนายแพทย์ เจริญ สืบแสงในวาระชาตกาล 122 ปี และการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมแล้วถูกจับกุมในกรณีกบฏสันติภาพ เมื่อ พ.ศ. 2495
บทสัมภาษณ์
28
กันยายน
2567
บทสัมภาษณ์ครอบครัวของคุณสุพจน์ ด่านตระกูล เนื่องในวาระ 101 ปี ชาตกาล คุณสุพจน์ ด่านตระกูล เล่าถึงชีวิตและงานรวมทั้งความสัมพันธ์กับนายปรีดี ท่านผู้หญิงพูนศุข นายปาล และนายศุขปรีดา พนมยงค์
15
สิงหาคม
2567
มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ และสถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมเป็นเจ้าภาพงานสวดพระอภิธรรมคุณสัมผัส พึ่งประดิษฐ์ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2567
แนวคิด-ปรัชญา
14
สิงหาคม
2567
สัมผัส พึ่งประดิษฐ์ เล่าประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยนับตั้งแต่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 จนถึงเหตุการณ์ที่นักศึกษาเคลื่อนไหวเกี่ยวกับขบวนการสันติภาพหรือต่อมาคือกบฏสันติภาพในปี 2495 มาจนถึงเหตุการ 6 ตุลา 2519 และชี้ว่าตนได้รับการสืบต่อแนวคิดประชาธิปไตยมาจากนายปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
ธันวาคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ร้อยเรียงเรื่องราวขยายภาพความสัมพันธ์ของปาล พนมยงค์ที่มีต่อมิตรสหายอย่าง ‘เยื้อน พานิชวิทย์’ และ 'สัมผัส พึ่งประดิษฐ์' จากบันทึกทางประวัติศาสตร์และบทสัมภาษณ์กับสัมผัส พึ่งประดิษฐ์
บทสัมภาษณ์
13
ตุลาคม
2566
จุดเปลี่ยนสำคัญของกรมราชทัณฑ์ เกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี 2475 รัฐบาลคณะราษฎรได้ให้ความสำคัญกับการดูแลนักโทษมากขึ้น โดยนายปรีดี พนมยงค์ ได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้กับงานราชทัณฑ์
บทบาท-ผลงาน
14
กรกฎาคม
2566
‘สุวัฒน์ วรดิลก’ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ คือ หนึ่งในนักคิด นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญ ผู้อาศัยผลงานเขียนของตนเป็นสื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยในสังคมไทย ซึ่งนอกจาก ‘สุวัฒน์’ จะมีชื่อเสียงในด้านงานเขียนต่างๆ แล้ว บุคคลผู้นี้ยังมีความสนิทชิดเชื้อกับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2566
รำลึก 62 ปี การจากไปของครูครอง จันดาวงศ์ ลูกอีสานผู้รักชาติ รักประชาชน รักประชาธิปไตย โดยข้อเขียนของสัมผัส พึ่งประดิษฐ์ ผู้ได้ร่วมทุกข์ ร่วมสุขในยามยากลำบากพร้อมกับครูครอง จันดาวงศ์
แนวคิด-ปรัชญา
20
เมษายน
2566
ผู้อ่านหลายท่านอาจคุ้นเคย "แลไปข้างหน้า" ในฐานะอมตะวรรณกรรมของศรีบูรพา แต่หากสืบสาวย้อนกลับไปจะพบว่า "แลไปข้างหน้า" ถูกใช้เป็นชื่อบทความซึ่งวิพากษ์วิจารณ์การเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านในช่วงปี พ.ศ. 2492 เพื่อมองไปยังอนาคตข้างหน้าของสังคมไทยด้วยความหวัง
Subscribe to กบฏสันติภาพ