ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กล้า สมุทวณิช

แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2565
จากหัวข้อการเสวนา PRIDI Talks #18 × SDID : “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” นำไปสู่การร่วมหาคำตอบผ่านทัศนะของผู้ร่วมเสวนาทุกท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2565
กล้า สมุทวณิช กล่าวถึง "ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ" "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ" และ "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญดั้งเดิม" ตลอดจนเส้นทางของรัฐธรรมนูญนับตั้งแต่อดีตจนถึงฉบับปัจจุบันในสายธารประวัติศาสตร์การเมืองไทย พร้อมกันนี้ได้เน้นย้ำช่องโหว่ทางกฎหมายเพื่อลดอุปสรรคสำหรับรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่กำลังจะมาถึง อีกทั้งยังถอดบทเรียนจากวรรณกรรมเรื่อง "เกิดใหม่ครั้งนี้จะสร้างประเทศที่ดีได้หรือเปล่านะ" เพื่อให้ได้ซึ่งรัฐประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
13
ธันวาคม
2565
เสาร์ที่ 10 ธันวาคม 2565 ที่ผ่านมา สถาบันปรีดีพนมยงค์ ร่วมกับ สถาบันสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย จัดงานเสวนา PRIDI Talks #18 × SDID : “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” ขึ้น ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
11
ธันวาคม
2565
วันที่ 10 ธันวาคม (วานนี้) เนื่องในวาระ “วันรัฐธรรมนูญ” สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสถาบันสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย จัดงานเสวนาวิชาการ ภายใต้ชื่อ PRIDI Talks #18 x SDID “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน”
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
2
ธันวาคม
2565
บทความนี้ชวนให้พิจารณาถึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยพิจารณาผ่านทฤษฎี "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ" ซึ่งว่าด้วยการกำเนิดขึ้นของรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ อีกทั้ง "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญที่ได้รับมา" ทฤษฎีว่าด้วยอำนาจในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ และข้อจำกัดในการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ทั้งฉบับ
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2565
“วงจรอุบาทว์ทางการเมืองไทย” นั้น เป็นที่รู้กันว่าหมายถึงวงจรแห่งการรัฐประหารฉีกรัฐธรรมนูญเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้นมารอคณะรัฐประหารคณะต่อไปมาฉีกทิ้ง 
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤศจิกายน
2565
หน้าที่ประการแรกและเป็นประการสำคัญที่สุดของรัฐธรรมนูญ คือการเป็น “บทบัญญัติแห่งการจัดตั้งรัฐ” ดังนั้น ในมาตราแรกๆ ของรัฐธรรมนูญ มักจะกำหนดรูปแบบของรัฐ และกล่าวอ้างถึงที่มาแห่ง “อำนาจสูงสุด” ของประเทศนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2565
รากฐานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่ได้รับการขนานนามว่า "รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน" โดยถือกำเนิดขึ้นด้วยผลสืบเนื่องจากฉันทามติของประชาชนในสังคมเพื่อแก้ระบบและกลไกการเมืองที่เคยถูกแทรกแซงโดยกองทัพ
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
ตุลาคม
2565
คดีฟ้องร้อง 'นายฉ่ำ จำรัสเนตร' อดีตครูประชาบาลผู้สนับสนุน "คณะราษฎร" และ "การอภิวัฒน์สยาม 2475" อย่างแข็งขัน ในเวลาต่อมา จากผู้ทำงานด้านการศึกษาแต่เมื่อลงสู่สนามการเมือง ครูฉ่ำก็ได้รับเลือกจากประชาชนและกลายมาเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ทว่า ด้วยพฤติการณ์ที่ไม่เหมือนข้าราชการคนอื่นๆ เขาจึงถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้มีความวิกลจริต
Subscribe to กล้า สมุทวณิช