กล้า สมุทวณิช
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
พฤษภาคม
2566
สำรวจความเป็นมาขององค์กรอิสระซึ่งทำหน้าที่เป็นกรรมการในการเลือกตั้ง อย่าง "กกต." จากที่ควรจะล่องหนไร้ตัวตนเพื่อกำกับการเลือกตั้งให้เป็นไปโดยสุจริตเที่ยงธรรมอยู่หลังม่านการเมือง กลับกลายเป็นผู้มีบทบาทเด่นจนถูกมองว่าเป็น "ผู้เล่น" สำคัญคนหนึ่งในเกมการเมืองเบื้องหน้า
เมื่อ “ศาลรัฐธรรมนูญ” ชี้ “ค่าไฟทำไมแพง” : การฟ้องคดีเกี่ยวกับหน้าที่ของรัฐตามรัฐธรรมนูญเป็นครั้งแรก
25
เมษายน
2566
กรณีศึกษาการฟ้องร้องกรณี "ค่าไฟแพง" ผ่านกระบวนการต่อสู้คดี เพื่อค้นหาคำตอบต่อประเด็นค่าไฟฟ้าที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อันเนื่องมาจากปัจจัยในการประกอบกิจการบริหารงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนซึ่งมีส่วนร่วมกันอย่างไม่อาจแยกออกจากกันได้ อันนำไปสู่การต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายที่มากขึ้นของประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
เมษายน
2566
ก่อนการเลือกตั้งทั่วไปจะมาถึงในวันที่ 14 พฤษภาคมนี้ บทความนี้ชวนผู้อ่านสำรวจรูปแบบและวิธีการเลือกตั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย นับตั้งแต่แรกเริ่มสถาปนาระบอบประชาธิปไตย เรื่อยมาจนถึงการเลือกครั้งล่าสุดในปี 2562
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2566
ปัญหาการเกิดขึ้นของ "นายกฯ คนนอก" ด้วยกระบวนการที่เปิดประตูให้แก่บุคคลนอกระบอบเล็ดลอดเข้ามามีอำนาจโดยไม่ผ่านกลไกด้วยระบอบประชาธิปไตย ปัญหาดังกล่าวถูกปิดตายด้วยรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน ฉบับ 2540 กระทั่งปัญหาดังกล่าวบังเกิดอีกครั้งภายหลังการแทรกแซงทางการเมืองเมื่อปี พ.ศ. 2557 ในรัฐธรรมนูญสืบทอดอำนาจ ฉบับ 2560
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
24
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงผลสืบเนื่องจากการรัฐประหาร 2534 ต่อประเด็นที่มาของตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญไทย วิกฤติทางการเมืองในคราวนั้นถือเป็นฟางเส้นสุดท้ายที่ทำให้ประชาชนได้ตระหนักถึงคุณค่าความยึดโยงของตำแหน่งดังกล่าวต่อประชาชน จนนำไปสู่การสะสางปัญหาที่ยืดเยื้อซึ่งกินเวลายาวนานนับตั้งแต่ยุค 2500
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 51 ซึ่งได้สถาปนาสิทธิของประชาชนที่รัฐพึงปฏิบัติ รวมไปถึงกระบวนการการเรียกร้องความคุ้มครองหากรัฐมิปฏิบัติหรือดำเนินการล่าช้า ทว่าขั้นตอนดังกล่าวกลับนำไปสู่การตั้งคำถามต่อ "อำนาจสูงสุด" ระหว่างแนวทางปฏิบัติและตามตัวบททฤษฎี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงปัญหาเชิงวัฒนธรรมที่สืบถอดกันมาในรูปแบบโครงสร้างรัฐนิยมที่ถูกเชิดชูขึ้นมาอยู่เหนือพื้นฐานสิทธิแห่งเสรีภาพ ผ่านการแทรกซึมในชีวิตประจำวันของสังคม ไม่เว้นแม้กระทั่งชีวิตของเด็กนักเรียน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
31
มกราคม
2566
กล้า สมุทวณิช กล่าวถึง พลวัตของสิทธิเสรีภาพในรัฐธรรมนูญไทย ซึ่งปรากฏการกำหนดสภาพบังคับในเชิงป้องกันการละเมิดจากอำนาจรัฐ และสิทธิเรียกร้องต่อรัฐให้บังคับตามสิทธิ อันเป็นคุณค่าพื้นฐานของพลเมืองดังบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับ 2540 และ 2550 ทว่า สิทธิเสรีภาพของประชาชนที่ถูกรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญไว้โดยชัดแจ้ง กลับมีจุดหักเหเมื่อรัฐธรรมนูญฉบับ 2560 ได้ถือกำเนิดขึ้น ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อ "มุมมอง" ตลอดจน "การตีความ"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
มกราคม
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของหลักการสิทธิและเสรีภาพ ตลอดจนคำอธิบายและนิยามของหลักการดังกล่าวซึ่งเชื่อมร้อยต่อกันในทางกฎหมาย นอกจากนี้ยังได้บอกเล่าถึงจุดเริ่มต้นของสิทธิเสรีภาพในภูมิทัศน์การเมืองไทย ซึ่งปรากฏการตีความบทบัญญัติในกระบวนการยุติธรรมอันนำไปสู่การไร้สภาพบังคับทางกฎหมาย โดยยกกรณีศึกษาผ่านคำวินิจฉัยของคำพิพากษาในคดีต่างๆ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to กล้า สมุทวณิช
28
ธันวาคม
2565
"เกิดใหม่ครั้งนี้จะสร้างประเทศที่ดีได้หรือเปล่านะ" ผลงานจากปลายปากกาของ 'หฤษฎ์ มหาทน' หรือ 'StarlessNight' หนึ่งในนักโทษทางความคิดของรัฐไทย โดยผู้เขียนได้ทบทวน "อุดมการณ์ทางการเมือง" และ "ความมุ่งมาดปรารถนา" ของหฤษฎ์ที่ได้ถ่ายทอดลงสู่ทุกๆ ตัวอักษร จนวรรณกรรมเล่มดังกล่าวได้กลายเป็นอาวุธทางความคิดเพื่อปลูกฝังคุณค่าของประชาธิปไตย