ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กษิดิศ อนันทนาธร

แนวคิด-ปรัชญา
16
มิถุนายน
2565
ณ ย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เกิดการอภิวัฒน์สยามโดยคณะราษฎร พระยาพหลพลพยุหเสนา อ่านแถลงการณ์คณะราษฎรฉบับแรก ณ ลานพระบรมรูปทรงม้า
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
พฤษภาคม
2565
'ศิริ สันตะบุตร' ผู้ว่าราชการคนสุดท้ายที่มาจากการแต่งตั้ง ดำเนินชีวิตอยู่บนสายงานราชการด้วยการเป็นนักปกครองที่ซื่อสัตย์สุจริต ดังคำกล่าวของ คุณหญิงนันทกา สุประภาตะนันทน์ ปลัดกรุงเทพมหานคร ณ ขณะนั้นว่า “ท่านเป็นคนอ่อนโยน…เป็นคนตรงเป็นไม้บรรทัด”
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤษภาคม
2565
'วัลยา' ได้นำเสนอความเป็นมา​ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2489 ซึ่งเป็นอีกผลงานสำคัญของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในเรื่องการเสนอแนวคิดแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2475 และร่วมยกร่างรัฐธรรมนูญ 2489 เพื่อให้เป็นรัฐธรรมนูญที่นำไปสู่แนวทางการสร้างหลักประชาธิปไตยสมบูรณ์ และระบอบประชาธิปไตยอันพรั่งพร้อมไปด้วยสามัคคีธรรม
บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2565
สำหรับตอนที่ 2 นั้น ผู้เขียนได้นำเสนอถึงช่วงเวลาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ที่ได้มีการนำเสนอ "ร่างประมวลรัษฎากรฉบับแรกของสยามประเทศ" ในที่ประชุมสภานั้น 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' ได้มอบหมายให้ 'ดิเรก ชัยนาม' เป็นผู้อ่านหลักการและเหตุผลของร่างพระราชบัญญัติฯ แห่งประมวลรัษฎากร จำนวน 16 ข้อ
บทบาท-ผลงาน
8
เมษายน
2565
บทความชิ้นนี้มีหมุดหมายเพื่อนำเสนอพัฒนาการแนวคิดความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และการปรับปรุงระบบภาษีอากรเพื่อราษฎรของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม[1] ก่อนการร่างพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรพุทธศักราช 2481 ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์สำคัญได้แก่ นิติสาส์น ฉบับปฐมฤกษ์ บันทึกการประชุมคณะกรรมการราษฎร และเค้าโครงการเศรษฐกิจ 
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2565
ผู้เขียนได้รวบรวมเรื่องราวของ 'พระยาพหลพลพยุหเสนา' ตั้งแต่กำเนิด - เครือญาติ, ที่มาของนามสกุลพระราชทาน, เรื่องนิมิตรประหลาดเมื่อครั้งเดินทางไปราชการที่ประเทศญี่ปุ่น, การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ในฐานะหัวหน้าคณะราษฎร, การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งระบอบประชาธิปไตย และ เชษฐบุรุษ เป็นต้น
บทบาท-ผลงาน
1
มีนาคม
2565
เหตุการณ์ ร.ศ. 130 เป็นความพยายามเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ให้เป็นระบอบประชาธิปไตยของกลุ่มทหารและปัญญาชนที่เกิดขึ้นในยุคต้นรัชกาลที่ 6
บทบาท-ผลงาน
26
มกราคม
2565
10 ปี ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้นเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 และรัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับสหรัฐฯ และบริเตนใหญ่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นจุดที่รัฐบาลไทยหันเข้าหาญี่ปุ่นเต็มตัว และต่อต้านสัมพันธมิตร เข้าสู่สงครามเป็นทางการ [1] คำถามสำคัญคือ ทำไมวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 จึงเป็นโมฆสงครามตามทัศนะของปรีดี พนมยงค์ ในบทความนี้จะค่อยๆ คลี่ให้เห็นคำตอบต่อไป  
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ธันวาคม
2564
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า นับเป็นสมเด็จพระนางเจ้าพระองค์สุดท้ายในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระชนมายุยืนยาวจนได้ทอดพระเนตรสงครามโลกทั้ง ๒ ครั้ง ทรงเป็นพระชนนีของสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ซึ่งต่อมาได้เฉลิมพระนามเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในห้วงเวลาของสงครามโลก ครั้งที่ ๒ สมเด็จพระพันวัสสาฯ จึงมีศักดิ์เป็น “พระอัยยิกา” ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
Subscribe to กษิดิศ อนันทนาธร