ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การปกครอง

แนวคิด-ปรัชญา
28
กันยายน
2567
การอภิปรายในรัฐสภาสิ่งสำคัญของการอภิปรายคือ การแถลงและอภิปรายนโยบายของรัฐบาลในการปกครองประเทศนับว่าเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ที่แท้จริงของประชาชน แต่การสาบาลซ้ำของรัฐบาลในรัฐสภากลับเป็นการสร้างความไม่น่าเชื่อถือให้กับประชาชนในพื้นที่รัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2567
กลไกประชาธิปไตยเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่เหล่านักการเมืองควรจะยึดถือเอาไว้ เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้กับระบอบทางการปกครองที่ผู้มีอำนาจสามารถก่อร่างสร้างตัวตนแห่งความชั่วร้ายทางการเมืองขึ้นมาทำร้ายคู่แข่งทางการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ต้องการนำเสนอถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญฉบับที่เป็นตัวกฎหมายกับฉบับวัฒนธรรม และการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ผ่านมโนทัศน์ ‘รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม’
แนวคิด-ปรัชญา
8
กันยายน
2566
PRIDI’s Law Lecture วันนี้เสนอความเห็นที่มีต่อลักษณะกิจของฝ่ายปกครองถึงความสมควรและขอบเขตการงานในการปกครอง โดยมีสองทัศนะที่แตกต่างกันในจุดมุ่งหมายของการปกครอง รัฐที่เป็นแบบตำรวจ และ รัฐที่เป็นผู้สงเคราะห์
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2566
ชวนผู้อ่านศึกษาถึงส่วนขยายของการกระทำที่เกิดขึ้นเฉพาะบุคคลหรือเฉพาะรายๆ ไปของผู้มีอำนาจบริหาร อำนาจธุรการ หรือเจ้าพนักงานปกครอง ซึ่งไม่ได้เป็นข้อบังคับที่ใช้โดยทั่วไป แต่พิจารณาเป็นเรื่องๆ
แนวคิด-ปรัชญา
11
สิงหาคม
2566
กระบวนการปฏิรูปทางการเมืองและเศรษฐกิจของเมียนมาผ่านมุมมองและมิติระหว่างประเทศ ถึงบทบาทจากภายนอกเมียนมา ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาระบบอภิบาลประชาธิปไตย รวมไปถึงกระบวนการสันติภาพและการเจรจาปรองดอง จากบริบทระหว่างประเทศ โดยมีตัวแสดงภายนอกที่มีส่วนช่วยให้ได้รับประโยชน์จากประชาธิปไตยในที่สุด
แนวคิด-ปรัชญา
31
กรกฎาคม
2566
ความขัดแย้งอย่างเป็นปัญหาหนักหน่วงในสังคมและจุดยืนแบบต่างโลก ระหว่างผู้ที่ศรัทธาอดีตกับผู้ที่ศรัทธาสิ่งที่มาใหม่ในปัจจุบันและในอนาคต เกิดขึ้นได้เพราะความรู้เพื่อสังคมส่วนรวมที่สามารถสร้างสรรค์ขึ้นได้โดยทุกผู้คนในสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
5
มิถุนายน
2566
ทบทวนนิยามของ "รัฐบาล" โดยพิจารณาจากความหมายอย่างกว้างและแคบ รัฐบาลจะพึงมีกี่ชนิดนั้นอาจแยกพิจารณาตามความหมายของรัฐบาลนั้นเอง คือสุดแต่จะพิจารณาตามความหมายอย่างกว้าง, อย่างแคบ, หรือตามความหมายในทางเศรษฐกิจ
แนวคิด-ปรัชญา
1
มิถุนายน
2566
กฎหมายปกครองว่าด้วยหลักคิดของความเป็นประเทศ แผ่นดิน และรัฐ นิยามของทั้ง 3 รูปแบบดังกล่าวเป็นอย่างไร รวมไปถึงความเป็นรัฐเดี่ยว รัฐรวม รัฐเอกราชเต็มที่ และรัฐไม่เอกราชเต็มที่ เพื่อทำความเข้าใจและขยายเพดานความรู้เบื้องต้นในฐานคิดการก่อกำเนิดของสังคมมนุษย์
Subscribe to การปกครอง