ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การรัฐประหาร

แนวคิด-ปรัชญา
23
กุมภาพันธ์
2567
ทหารในกองทัพสมัยใหม่ เป็นการปฏิรูปวัฒนธรรมองค์กรให้มีความสามัคคีเป็นหนึ่งเดียว ไม่มีการแตกแยก อีกทั้งยังทำหน้าที่เป็นเครื่องมือของรัฐบาลที่จะป้องกันประเทศไม่ให้คู่ตรงข้ามเข้ามารุกรานและสามารถเอาชนะคู่ศัตรูได้ภายใต้สงครามยุคใหม่
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2566
ผลการเลือกเมื่อ 14 พ.ค. 2566 แสดงถึงเจตจำนงและฉันทามติของสังคมไทยอย่างเด่นชัดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ทว่า กลับต้องพบกับอุปสรรคทางการเมืองที่ถูกวางไว้ผ่านรัฐธรรมนูญ 2560 ในบทเฉพาะกาล โดยกำหนดให้ สว. จำนวน 250 คน มีสิทธิร่วมเลือกนายกรัฐมนตรีผ่านกลไกการประชุมรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2566
วิธีต่อสู้เผด็จการของนายปรีดี พนมยงค์ รูปแบบของเผด็จการแบบประชาธิปไตยและการเข้าสู่การเมืองในระบบรัฐสภาหลัง พ.ศ. 2557 ว่ามีคำนิยาม ทฤษฎี และคำอธิบายระบอบเผด็จการร่วมสมัยอย่างไร และปัจจุบันประเทศไทยมีดัชนีความเป็นประชาธิปไตยเป็นไปในทิศทางไหนในมุมมองระหว่างประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
18
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน กล่าวถึงความไม่เป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ซึ่งเกิดขึ้นนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นของกระบวนการยุติธรรมไทยในอดีต เปรียบเสมือนติดกระดุมผิดเม็ด จนกรุยทางไปสู่ความป่วยไข้ของรัฐธรรมนูญที่ส่งผลต่อทัศนคติในหมู่นักกฎหมายและประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2565
ความสำคัญของรัฐธรรมนูญโดยเชื่อมโยงกับสังคมไทยและการต่อสู้ทางการเมืองในโมงยามปัจจุบัน พร้อมทั้งวิพากษ์คำว่า "Constitution" "Constitutional" และ "Constitutionalism" ผ่านแว่นตาของรัฐศาสตร์ คำดังกล่าวต่างเต็มไปด้วยนัยทางการเมืองที่แตกต่างกันและส่งผลต่อฐานคิดว่าด้วย "รัฐธรรมนูญ"
แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2565
กล้า สมุทวณิช กล่าวถึง "ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ" "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ" และ "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญดั้งเดิม" ตลอดจนเส้นทางของรัฐธรรมนูญนับตั้งแต่อดีตจนถึงฉบับปัจจุบันในสายธารประวัติศาสตร์การเมืองไทย พร้อมกันนี้ได้เน้นย้ำช่องโหว่ทางกฎหมายเพื่อลดอุปสรรคสำหรับรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่กำลังจะมาถึง อีกทั้งยังถอดบทเรียนจากวรรณกรรมเรื่อง "เกิดใหม่ครั้งนี้จะสร้างประเทศที่ดีได้หรือเปล่านะ" เพื่อให้ได้ซึ่งรัฐประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
13
ธันวาคม
2565
เสาร์ที่ 10 ธันวาคม 2565 ที่ผ่านมา สถาบันปรีดีพนมยงค์ ร่วมกับ สถาบันสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย จัดงานเสวนา PRIDI Talks #18 × SDID : “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” ขึ้น ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
แนวคิด-ปรัชญา
13
ธันวาคม
2565
จุดเริ่มต้นบทบาทของทหารและกองทัพผ่านรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งได้กลายมาเป็นต้นแบบในรัฐธรรมนูญฉบับต่อๆ มา เพื่อกำหนดตำแหน่งแห่งที่ของทหารและกองทัพเชิงวัฒนธรรม จนท้ายที่สุดได้สถาปนาให้ทหารและกองทัพเป็นหนึ่งในขั้วอำนาจที่อยู่คู่กับการเมืองไทยมาตลอดนับตั้งการรัฐประหาร 2490 พร้อมทั้งวิเคราะห์รัฐธรรมนูญในมิติวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อตำแหน่งแห่งที่ของทหารและกองทัพ
แนวคิด-ปรัชญา
16
กันยายน
2565
ในระยะเปลี่ยนผ่านทางการเมืองของทุกประเทศ ปัญหาประการหนึ่งที่สำคัญที่ต้องการบริหารจัดการก็คือ ประเด็นของความสัมพันธ์พลเรือน-ทหาร หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ ปัญหาของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งกับกองทัพ
Subscribe to การรัฐประหาร